ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน่วยมวลอะตอม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: el:Ατομική μονάδα μάζας
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: bo:རྡུལ་ཕྲན་སྤུས་ཚད་རྩི་གཞི།; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 3:
 
:1 u = 1/N<sub>A</sub> [[กรัม]] = 1/(1000 N<sub>A</sub>) [[กิโลกรัม]] &nbsp;&nbsp; (โดยที่ N<sub>A</sub> คือ [[เลขอาโวกาโดร]] (Avogadro's number)
:1 u &asymp; 1.66053886 x 10<sup>-27</sup> kg
 
สัญลักษณ์ของหน่วยนี้คือ '''amu''' ย่อมาจาก '''atomic mass unit ''' ยังมีใช้ในงานตีพิมพ์เก่าๆ โดยทั่วไปหน่วยมวลอะตอมนี้จะเขียนโดยไม่มีหน่วยกำกับ ในบทความวิชาการทาง biochemistry และ molecular biology นั้นจะใช้หน่วน ดัลตัน ย่อ "Da" เนื่องจากโปรตีน นั้นเป็นโมเลกุลขนาดใหญ่ โดยทั่วไปจึงมีการใช้หน่วย กิโลดัลตัน หรือ "kDa" เท่ากับ 1000 ดัลตัน
บรรทัด 11:
 
ในช่วงก่อนปี ค.ศ. 1961 นั้น 1 หน่วยมวลอะตอมในทางกายภาพนั้นจะใช้หมายถึง 1/16 ของมวลอะตอมของ ออกซิเจน-16 1 อะตอม ในขณะที่ 1 หน่วยมวลอะตอมในทางเคมีนั้นจะหมายถึง 1/16 ของค่าเฉลี่ยมวลของอะตอมออกซิเจน (คิดเฉลี่ยจากปริมาณของทุก ไอโซโทป ในธรรมชาติ) ซึ่งค่าทั่งสองดังกล่าวข้างต้นจะมีค่าต่ำกว่าค่า 1 หน่วยมวลอะตอมมาตรฐานในปัจจุบันเล็กน้อย ค่าในปัจจุบันนี้เป็นค่าที่ยอมรับเป็นค่ามาตรฐานโดย International Union of Pure and Applied Physics ในปี ค.ศ. 1960 และโดย the International Union of Pure and Applied Chemistry ในปี ค.ศ. 1961
{{โครงฟิสิกส์}}
 
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์]]
{{โครงฟิสิกส์}}
 
[[ar:وحدة كتل ذرية]]
[[ast:Unidá de masa atómica]]
[[bg:Единица за атомна маса]]
[[bo:རྡུལ་ཕྲན་སྤུས་ཚད་རྩི་གཞི།]]
[[br:Unanenn tolz atomek]]
[[bs:Jedinica atomske mase]]