ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแบ่งแยกนิวเคลียส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: cy:Ymholltiad niwclear
Phizaz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Nuclear_fission.svg|250px|thumb|ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิซชัน.]]
'''การแบ่งแยกนิวเคลียส''' เป็นปฏิกิริยาที่[[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียส]]ของ[[ธาตุเคมี|ธาตุ]]ที่มีขนาดใหญ่อย่างเช่น [[ยูเรเนียม]] แตกแยกตัวออกเป็นนิวเคลียสของธาตุที่มี ขนาดเล็ก เช่น[[แบเรียม]]และ[[แลนทานัม]] ปฏิกิริยาฟิซชันจึงเปรียบเสมือนปฏิกิริยาจุดชนวนซึ่งเมื่อเกิดแล้ว ทำให้เกิดปฏิกิริยาอื่น ๆ เกิดตามมาเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ หากขาดการควบคุมจะเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง เมื่อเปรียบเทียบกับ[[ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน]]พบว่าปฏิกิริยา[[นิวเคลียร์ฟิซชันฟิซชัน]]จะให้พลังงานน้อยกว่า และผลิตผลที่ได้จะเป็น[[กัมมันตรังสี]]
 
โดยปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของธาตุขนาดใหญ่แยกตัวเป็นนิวเคลียสของธาตุที่มีขนาดเล็กลง เรียกว่า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิสชั่น ซึ่งค่อนข้างจะคุ้นหูสำหรับคนไทยเนื่องจากมีการกล่าวถึงอยู่บ่อยครั้ง ในปัจจุบันมีการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์จากปฏิกิริยาฟิสชั่นมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ และ ประเทศฝรั่งเศส เป็นต้น แต่การนำเอาปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิสชั่นมาใช้นั้นมีความเสี่ยงในเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสูงมาก ซึ่งเห็นได้จากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นที่โรงงานไฟฟ้าเชอโนเบิล ที่ประเทศรัสเซีย ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากมายและยังคงเป็นเรื่องเศร้าใจและน่ากลัวจนถึงทุกวันนี้