ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดรรชนีหักเห"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ro:Indice de refracție
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: de:Brechungsindex; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 27:
ถ้าเรารู้ดรรชนีหักเหของวัสดุสองชนิดที่ความถี่หนึ่งๆ เราสามารถคำนวณมุมที่หักเหที่ผิวระหว่างตัวกลางสองชนิดนั้นได้ด้วย[[กฎของสเนล]] ([[:en:Snell's law|Snell's law]])
 
== การกระจายและการดูดกลืน ==
 
ดรรชนีหักเหนั้นมีค่าขึ้นกับ[[ความถี่]] (ยกเว้นในสุญญากาศ ซึ่งทุกความถี่เดินทางด้วยความเร็วเท่ากันเท่ากับ <math>c</math>) ปรากฏการณ์นี้รู้จักกันในชื่อ[[การกระจาย]] ของแสง ซึ่งเป็นต้นเหตุให้[[ปริซึม]]แบ่งแสงขาวออกเป็น[[สี]]ต่างๆ และเป็นเหตุผลที่[[รุ้งกินน้ำ]]มีหลายสี ในช่วงคลื่นที่วัสดุไม่ดูดซับแสง ดรรชนีหักเหจะเพิ่มขึ้นตามความถี่ ในขณะที่ใกล้ความยาวคลื่นที่แสงถูกดูดซับได้ ดรรชนีหักเหจะลดลงเมื่อความถี่เพิ่มขึ้น
บรรทัด 33:
[[สมการของเซลไมเออร์]] (Sellmeier equation) ให้ผลค่อนข้างดีในการทำนายปรากฏการณ์การกระจาย และในตารางค่าดรรชนีหักเหนั้นมักบอกเป็น[[สัมประสิทธิ์เซลไมเออร์]] แทนที่จะเป็นค่าดรรชนีหักเหจริง
 
== แอนไอโซทรอปี ==
 
ดรรชนีหักเหของตัวกลางบางชนิดนั้นมีค่าขึ้นกับ[[โพลาไรเซชั่น]]และทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงในตัวกลางนั้น คุณสมบัตินี้มีชื่อเรียกว่า [[การหักเหสองแนว]] (birefringence) หรือ แอนไอโซทรอปี (anisotropy) ในกรณีส่วนทั่วไป [[ค่าคงที่ไดอิเล็กทริก]] (dielectric constant) เป็น[[เทนเซอร์]]ระดับ 2 (เมทริกซ์ 3 คูณ 3) ซึ่งไม่สามารถอธิบายได้ด้วยดรรชนีหักเหเท่านั้น นอกจากเมื่อพิจารณาที่แสงที่มีโพลาไรเซชั่นบนแกนผลึกของวัสดุ
 
== Nonlinearity ==
 
[[สนามไฟฟ้า]]ขนาดใหญ่ของแสงที่มีความเข้มสูง (เช่นแสง[[เลเซอร์]]) อาจทำให้ดรรชนีหักเหของตัวกลางเปลี่ยนแปลงได้เมื่อแสงนั้นเดินทางผ่าน ซึ่งทำให้เกิดปรากฏการณ์ [[nonlinear optics]] ขึ้น ถ้าดรรชนีหักเหแปรผันตามกำลังสองของขนาดของสนาม (แปรผันตรงกับความเข้มแสง) จะเรียกว่า [[Kerr effect]] และสามารถทำให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ เช่น [[self-focusing]] และ [[self phase modulation]]
บรรทัด 57:
[[cs:Index lomu]]
[[da:Brydningsindeks]]
[[de:BrechzahlBrechungsindex]]
[[el:Δείκτης διάθλασης]]
[[en:Refractive index]]