ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ปลาตะพัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| image_width = 240px
| image_caption = [[อะโรวาน่าแดงอินโดนีเซีย|ฝูงตะพัดสีแดง]] (''Scleropages formosus'')
| image2 = Phareodus testis 02.jpg
| image2_caption = [[ฟอสซิล]]ปลาในวงศ์ปลาตะพัด ชนิด ''Phareodus testis'' ซึ่ง[[สูญพันธุ์]]ไปแล้ว พบใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]]
| regnum = [[Animalia]]
| phylum = [[Chordata]]
เส้น 28 ⟶ 30:
ปลาในวงศ์นี้มีสืบสายพันธุ์มาตั้งแต่[[ยุคก่อนประวัติศาสตร์]]โดยพบซาก[[ฟอสซิล]]อายุราว 60 ล้านปีมาแล้วในชั้นหิน ซึ่ง[[สันนิษฐาน]]ว่า ปลาในวงศ์นี้ในสมัยนั้นพบกระจายอยู่ทั่วโลก แต่ได้[[สูญพันธุ์]]ไปแล้ว 3 [[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] 7 [[สปีชีส์ |ชนิด]] ได้แก่ สกุล ''Brychaetus'' 1 ชนิด, '' Joffrichthys'' 2 ชนิด และ ''Phareodus'' 4 ชนิด<ref> name="frickhinger">{{cite book | last = Frickhinger | first = Karl Albert | others = Trans. Dr. R.P.S. Jefferies | title = Fossil Atlas: Fishes | year = 1995 | publisher = Tetra Press | location = Blacksburg, Virginia}}</ref><ref name="newbreya">{{cite journal | last = Newbreya | first = M. G. | coauthors = Bozekb, M. A. | year = 2000 | title = A New Species of Joffrichthys (Teleostei: Osteoglossidae) from the Sentinel Butte Formation, (Paleocene) of North Dakota, USA | journal = Journal of Vertebrate Paleontology | volume = 20 | issue = 1 | pages = 12–20 | url = http://www.bioone.org/bioone/?request=get-abstract&issn=0272-4634&volume=020&issue=01&page=0012 | accessdate = 2006-04-14 | doi = 10.1671/0272-4634(2000)020[0012:ANSOJT]2.0.CO;2 }}</ref><ref name="Li">{{aut|Li ''et all''}}1997 "The species of †Phareodus (Teleostei: Osteoglossidae) from the Eocene of North America and their phylogenetic relationships." ''Journal of Vertebrate Paleontology'' 17(3):487-505</ref><ref>[http://www.arowanacafe.com/webboard/view.php?id=632 กระทู้นี้มีสาระ !!! มาว่ากันด้วยสายพันธุ์ อโรวาน่า ]</ref>
 
ปัจจุบัน พบปลาในวงศ์ปลาตะพัดทั้งหมด 7 ชนิด ใน 4 สกุล โดยพบ 3 ชนิด ใน[[ทวีปอเมริกาใต้]], 1 ชนิด ใน[[ทวีปแอฟริกา]], 1 ชนิด ในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]], 2 ชนิด ใน[[ทวีปออสเตรเลีย]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิดที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีหลากสายพันธุ์ลักษณะสีสันต่างกันไป (Variety) ตามกรรมพันธุ์และสภาพที่อยู่อาศัย ตั้งแต่สีทองเข้ม ทองอ่อน เขียว แดงเข้ม แดงอ่อน หรือทองอ่อนหางเหลือง เป็นต้น
 
ทั้งหมดนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ที่มีราคาแพง (นักเลี้ยงปลามักเรียกว่า ปลาอะโรวาน่า หรือ ปลามังกร มากกว่า ปลาตะพัด)
สถานะในธรรมชาติจัดเป็นปลาใกล้สูญพันธุ์ (Endangered) แต่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในปัจจุบัน โดยในประเทศไทยสามารถเพาะพันธุ์ปลาตะพัดได้สำเร็จเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ [[24 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2531]] โดยสถานีประมงน้ำจืด จ.[[สุราษฎร์ธานี]]
[[ไฟล์:Spotted_arowana.jpg|thumb|250px|rightleft|ตะพัดออสเตรเลียจุด (''Scleropages leichardti'')]]
== การจำแนกในวงศ์ปลาตะพัด ==
* [[ปลาตะพัด|ตะพัด]] (''Scleropages formosus'')