ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Law2karn (คุย | ส่วนร่วม)
→‎สาระสำคัญ: บ่อเกิดของกฏหมายและนิติรัฐ
บรรทัด 158:
การเมืองการปกครองและการบริหารประเทศใดๆ หากปราศจากการยอมรับจากผู้คนอย่างกว้างขวางแล้ว ก็เป็นที่น่าสงสัยเป็นอย่างยิ่งว่า ระบบอื่นๆ ทั้งหมดจะดำเนินการไปได้อย่างไร และหากจะต้องดำเนินการไปโดยยึดหลักปฏิบัตินิยม และมีความยืดหยุ่นอย่างสูง (Pragmatism &Flexibility) แล้วไซร้ ก็คาดเดาได้ว่า การปฏิรูประบบการเมืองและราชการของไทยนั้น ควรจะหันมาพิจารณาฐานคิดแบบที่สองให้มากกว่าแบบที่หนึ่งจะดีหรือไม่
ดังนั้นหากจะใช้หลักการแห่งนิติรัฐต้องประกอบ ทั้งหลักคุณธรรมและประโยชน์ที่มุ่งหวังต่อบ้านเมืองเป็นหลัก มิฉะนั้นหาก ลืมไปว่า หน้าที่ของการที่เราถูกแต่งตั้งโดยประชาชนแล้ว ก็แล้วไปหรือบริหารงานไปโดยคิดแค่ว่าไม่มีใครมาคอยตรวจสอบ คงจะยากสำรับคนที่คอยคิดจะเบียดบังทรัพย์สินของประชาชนโดยอาศัยช่องโหว่ของกฎหมายมาเป็นของตน เว้นแต่องค์กรที่ตรวจสอบจะเห็นแก่อำนาจเงินจนลืมประโยชน์สาธารณะที่ควรให้แก่ประชาชน
บ่อเกิดของกฎหมาย
มาติณ ถีนิติ
 
 
บ่อเกิดของปัญหามีว่า อะไรคือบ่อเกิดของกฎหมาย กฎหมายเมื่อมีคนสองคนเกิดขึ้นต้องมีกฎหมาย และบ่อเกิดของกฎหมายคือ การทำสัญญาร่วมกัน โดยคำพูดระหว่างสองหรือโดย สภา โดยสังคม โดยกลุ่มคน หรือไม่ว่าโดยกรณีอื่นใด เป็นบ่อเกิดแห่งกฎหมายทั้งสิ้น เหมือนอย่างกับว่า นิติปรัชญาก็คือ สิ่งที่ไม่ได้กล่าวไว้ในกฎหมายหลักนั้นคือนิติปรัชญาทั้งสิ้น
ก่อนอื่นนิยามคำว่าบ่อเกิดแห่งกฎหมาย
บ่อคือบ่อน้ำที่ขุดแล้วพบน้ำ เกิดคือการคลอดออกมารอดอยู่
กฎคือกติกาหมายคือคำสั่งให้ปฏิบัติตาม รวมกันว่าบ่อเกิดของกฎหมาย แปลว่า ที่เกิดของกติกาและคำสั่ง
การเกิดของกฎหมายเกิดขึ้นได้อย่างไร เมื่อมองออกไปในสังคมเราพบว่ากฎหมายเกิดมาแล้วเพื่อให้เราปฏิบัติตามทันที ถ้าไม่ทำตามต้องผิดและถูกทำโทษ
เราขับรถชิดซ้าย ถ้าเราขับผิดกฎนี้ก็จะถูกกติกาสังคมทำโทษทันทีคืออุบัติเหตุ และมีกฎหมายรองรับด้วย ถ้าเจ้าหน้าที่พบเข้าก็จะถูกทำโทษ ปรับริบทรัพย์สิน ยึดใบอนุญาต กำหนดตัดสิทธิ์การเป็นผู้ใช้สิทธิ์ในใบขับขี่ที่เราทรงสิทธิ์นั้นทันที เราพบได้เสมอ นี่เป็นบ่อเกิดของกฎหมายโดยแบ่งออกได้ ๒ กรณี ในข้อมูลที่ให้ไว้ในเบื้องต้นนี้
บ่อเกิดโดดยกติกาธรรมชาติ
บ่อเกิดโดยกฎหมายที่กำหนดไว้
ที่มาของกกหมายก็ดี วัฒนธรรม ประเพณีก็ดี ความนิยมก็ดี ค่านิยมก็ดี การเมืองก็ดี เสียงข้างมากก็ดี ความอาวุโสก็ดี การเชี่ยวชาญดี ความคิดเห็นส่วนบุคคลก็ดี การใช้อำนาจก็ดีโดยใครก็ตาม ประชามติก็ดี เป็นบ่อเกิดแห่งกฎหมายทั้งสิ้น
สภาพกฎหมายนั้นจะมีสิทธิบังคับใช้ได้ต้องเป็นกฎหมายที่รัฐผ่านการอนุมัติจากเสียงข้างอีกครั้งหนึ่ง เพื่อผ่านเป็นกฎหมาย บังคับใช้ทั่วไป ส่วนที่ยังไม่ผ่าน เป็นผลบังคับใช้เฉพาะกลุ่มเฉพาะกรณีไป แต่สรุปแล้วทั้งหมดเป็นบ่อเกิดแห่งกฎหมายทั้งสิ้น
นิติรัฐ อาจมีปลายกระบอกปืนของผู้ปกครองเป็นกฎหมายได้ส่วนนิติธรรมนั้นต้องมีการกลั่นกรองผ่านจริยธรรมทางกฎหมายผ่านสภาเสียก่อนจึงเป็นกฎหมายสมบูรณ์บ่อเกิดกฎหมายที่เป็นนิติปรัชญานั้นเป้นกฏหมายที่ไม่สมบูรณ์ ให้พิจารณาในเรื่องพฤตินัยและนิตินัยเป็นสำคัญแม่ทั้งคู่เป็นนิติปรัชญาและเป็นบ่อเกิดของกฏหมาย
และทั้งในกรณีใดๆ ก็ตาม ให้ถือว่านิติปรัชญาคือสิ่งที่ไม่มีกล่าวไว้ในกฎหมายนั้นคือนิติปรัชญาทั้งสิ้น ส่วนบ่อเกิดของนิติปรัชญาและกฎหมายคือสิ่งที่คล้ายคลึงกัน แต่นิติปรัชญาจะเกิดก่อนกฎหมายเสมอ สรุปธรรมชาติของกฎหมายและนิติปรัชญาเป็นสิ่งเดียวกันในทางปฏิบัติ แต่ต่างกันในความเป็นทฤษฎี ซิเซโรนักคิดและนักพูดชาวโรมันเคยกล่าวไว้ที่เมืองอ็อกฟอร์ดว่า ที่ใดมีกฎที่นั่นมีคน
สรุปนิติปรัชญาทุกชนิดก็จะเป็นบ่อเกิดกฎหมายแม่บทต่อไป