ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จำนวนอดิศัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: lv:Transcendents skaitlis
MondalorBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ka:ტრანსცენდენტური რიცხვი; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 18:
</math>
ตัวเลขที่รู้จักกันดีตัวแรกที่ถูกพิสูจน์ว่าเป็นจำนวนอดิศัย (ไม่รวม "ค่าคงที่ Liouville" ที่ถูกสร้างมาเพื่อเป็นจำนวนอดิศัยโดยเฉพาะ) คือ [[เอ็กโปเน็นเชียล|<i>e</i>]] พิสูจน์โดย[[ชาร์ลส เฮอร์มิท]]ในปี [[ค.ศ. 1873]] ต่อมาในปี [[ค.ศ. 1882]], [[แฟร์ดินันด์ ฟอน ลินเดอมันน์]]ได้ตีพิมพ์บทพิสูจน์ว่า [[ไพ (คณิตศาสตร์)|&pi;π]] เป็นจำนวนอดิศัย (ดู[[ทฤษฎีบทลินเดอมันน์-ไวเออร์สตาร์ซ]]เพิ่มเติม)
<!--in which the ''n''th digit after the decimal point is 1 if ''n'' is a [[factorial]] (i.e., 1, 2, 6, 24, 120, 720, ...., etc.) and 0 otherwise. ไม่มีความจำเป็นต้องแปล--> <!--In [[1874]], [[Georg Cantor]] found the argument described above establishing the ubiquity of transcendental numbers. ?หมายความว่าอย่างไร?-->
 
บรรทัด 43:
 
== ความสำคัญของจำนวนอดิศัย ==
การค้นพบจำนวนอดิศัย สามารถนำไปใช้พิสูจน์ความ ''เป็นไปไม่ได้'' ในการแก้ปัญหาของคณิตศาสตร์กรีกโบราณหลายข้อที่เกี่ยวกับ [[การสร้างรูปด้วยไม้บรรทัดและวงเวียน]] เช่น [[การสร้างสี่เหลี่ยมจตุรัสจากวงกลม]]<!--squarring the circle/quadrature of the circle ปัญหา classic ที่ต้องการเปรียบเทียบพื้นที่วงกลมกับสี่เหลี่ยมจตุรัส--> ซึ่งเป็นไปไม่ได้เนื่องจาก &pi;π เป็นจำนวนอดิศัย. ในขณะที่การสร้างรูปด้วยไม้บรรทัดและวงเวียน สามารถสร้างได้แต่รูปที่มีความยาวในขอบเขตของจำนวนเชิงพีชคณิตเท่านั้น
 
<!--
บรรทัด 72:
[[it:Numero trascendente]]
[[ja:超越数]]
[[ka:ტრანსცენდენტური რიცხვი]]
[[ko:초월수]]
[[la:Numerus transcendens]]