ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kungcho (คุย | ส่วนร่วม)
ชีวประวัติ
Kungcho (คุย | ส่วนร่วม)
อนุสาวรีย์หลวงพรต-ท่านเลี่ยม
บรรทัด 27:
หลวงพรตฯได้กลับเข้ามารับราชการในตำแหน่งอาจารย์พิเศษในกระทรวงศึกษาธิการเมื่อ วันที่ 1 มิถุนายน [[พ.ศ. 2463]] ในเวลาเดียวกันได้ออกทำการสอนใน โรงเรียนมัธยมหลายโรงเรียน ต่อมาเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ปีเดียวกัน ได้ย้ายจากกระทรวงศึกษาธิการ มาเป็นอาจารย์[[วัดเบญจมบพิตร]] โดย เป็นผู้สอนวิชา [[คณิตศาสตร์]] ในสาขาต่าง ๆ และ[[วิทยาศาสตร์]] ในระหว่างรับราชการอยู่ที่โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรนี้ คุณหลวงพรตฯได้รับพระราชทานยศเป็นรองอำมาตย์เอก วันที่ 10 ธันวาคม [[พ.ศ. 2466]] และอีก 3 ปีต่อมาก็ได้เลื่อนยศเป็นอำมาตย์โทและได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงพรตพิทยพยัตเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม [[พ.ศ. 2464]] จนกระทั่งถึง [[พ.ศ. 2471]] หลวงพรตฯ ได้ย้ายมาเป็นอาจารย์ในคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม [[พ.ศ. 2471]]<ref name=ประวัติหลวงพรตพิทยพยัต >[http://www.prot.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=33&Itemid=29 จากเว็บไซต์โรงเรียนพรตพิทยพยัต</ref> ได้เป็นผู้สอนวิชา[[ฟิสิกส์]]แก่นิสิตเตรียมแพทย์ และสอนวิชาฟิสิกส์และคณิตศาสตร์แก่นิสิต วิทยาศาสตร์ และนิสิตวิศวกรรมศาสตร์
 
[[ไฟล์:อนุสาวรีย์หลวงพรต-ท่านเลี่ยม.jpg|thumb|left|อนุสาวรีย์หลวงพรต-ท่านเลี่ยมที่[[โรงเรียนพรตพิทยพยัต]] ใน ปัจจุบัน|225px]]
== อนุสาวรีย์หลวงพรต-ท่านเลี่ยม ==
'''อนุสาวรีย์หลวงพรต-ท่านเลี่ยม''' ตั้งอยู่ภายใน อุทยานหลวงพรต-ท่านเลี่ยม ตัวอนุสาวรีย์นั้นวางศิลาฤกษ์ ในวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2525 แต่ตัวอุทยานก่อสร้างในยุคต่อมานำโดย นายเฉลียว พงศาปาน ผู้บริหารในยุคนั้น
[[File:อนุสาวรีย์หลวงพรต-ท่านเลี่ยม.JPG|thumb|left|อนุสาวรีย์หลวงพรต-ท่านเลี่ยมที่[[โรงเรียนพรตพิทยพยัต]] ใน สมัยก่อน|225px]]
== ดูเพิ่ม ==
* [[โรงเรียนพรตพิทยพยัต]]