ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การกลายพันธุ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 2:
{{วิวัฒนาการ 3}}
'''การกลายพันธุ์''' หรือ มิวเทชัน ({{lang-en|mutation}}) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสภาพของ[[สิ่งมีชีวิต]] โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเปลี่ยนแปลงของ[[ยีน]] ทำให้สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นมาใหม่มีลักษณะแตกต่างจากกลุ่มปกติ
 
== ปัจจัยที่ทำให้เกิดมิวเทชัน ==
ตัวกระตุ้นหรือชักนำให้เกิดมิวเทชัน จะเรียกว่าสิ่งก่อกลายพันธุ์ (mutagen) เช่น
 
# รังสี (radiation) รังสีที่กระตุ้นให้เกิดมิวเทชันมี 2 ชนิดคือ
## Ionizing Radiation เช่น รังสีบีต้า, รังสีแกมมา, รังสีเอกซ์
## Non-Ionizing Radiation เช่น รังสีอุลตร้าไวโอเลต
# สารเคมี เช่น สารโคลซิซิน (colchicine) มีผลทำให้มีการเพิ่มจำนวนชุดของโครโมโซม ผลดังกล่าวนี้ทำให้ผลผลิตพืชเพิ่มขึ้น สารไดคลอวอส (dichlovos) ที่ใช้กำจัดแมลงและพาราควอต (paraquat) ที่ใช้กำจัดวัชพืช ก็สามารถทำให้เกิดการผิดปกติของโครโมโซมในคนและสัตว์ได้ สิ่งก่อกลายพันธุ์หรือมิวทาเจนหลายชนิดเป็นสารก่อมะเร็ง (carcinogen) เช่น สารอะฟลาทอกซิน (aflatoxins) จากเชื้อราบางชนิดทำให้เกิดมะเร็งที่ตับ เป็นต้น
# การจัดเรียงเบสในกระบวนการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ (DNA replication) ผิดพลาด มีผลทำให้เกิดการเพิ่มหรือลดจำนวนเบสในคู่สาย และทำให้เกิดการเลื่อน (shift) ของสายDNA
 
== ประเภทของมิวเทชัน ==