ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธงชัยประจำหน่วยตำรวจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ต้องการสรุป
Watajantara (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับแก้ย่อหน้าใหม่
บรรทัด 7:
== ลักษณะของธง ==
 
ธงชัยประจำหน่วยตำรวจที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนี้ มีลักษณะและส่วนประกอบของธงเหมือนกันรวมถึงการได้มา เช่นเดียวกันกับธงชัยเฉลิมพลของทหารทุกประการ คือผืนธงโดยนธงชัย มีลักษณะอย่างเดียวกับธงชาติ เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้างด้านละ 70 เซนติเมตร ตรงกลางผืนธงมีตราแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีชื่อหน่วยตำรวจ (เช่น"โรงเรียนนายร้อยตำรวจ") เป็นไหมสีแดงริมสีขาวเป็นแถวโค้งโอบใต้ตราแผ่นดิน ผืนธงมุมด้านที่ติดกับคันธงมีรูปพระมหามงกุฎและเลขหมายรัชกาลของพระมหากษัตริย์ที่พระราชทานเป็นตัวเลขไทยมีเหลือง ภายใต้พระมหามงกุฎมีพระปรมาภิไธยย่อสีแดงขลิบริมสีขาว รัศมีสีฟ้า ขอบธงด้านที่ติดกับคันธงมีเกลียวเชือกสีแดงสลับดำ ด้านอื่นมีแถบจีบสีขาวกว้าง 2 เซนติเมตร
แต่เดิมนั้นหน่วยทหารบก ทหารเรือ และทหารอากาศ มี “[[ธงชัยเฉลิมพล]]” หรือเรียกว่า “ธงไชยเฉลิมพล” และ “ธงประจำกอง” เป็นธงประจำหน่วย ซึ่งในขณะนั้น หน่วยตำรวจก็มีธงประจำกองของตำรวจ ประจำหน่วยตำรวจต่างๆ เช่นเดียวกับธงชัยเฉลิมพลและธงประจำกองของทหาร
 
สำหรับส่วนประกอบของธงนั้น ยอดคันธงเป็นรูปช้างสามเศียรภายใต้พระมหามงกุฎทำด้วยโลหะสีเงิน ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปที่ทำพิธีแล้ว เรียกว่า "พระยอดธง" และบรรจุเส้นพระเจ้า (เส้นพระเกศา) ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คันธงมีขนาดกว้างเส้นผ่าศูนย์กลาง 3.5 เซนติเมตร ยาว 2.43 เซนติเมตร คันธงระหว่างฐานช้างสามเศียรกับมุมบนของธง มีแถวธงชาติเป็นโบหูกระต่ายห้อยชายทั้งสอง ยาวเลยมุมธงด้านล่าง ปลายชายแถบทั้งสองเป็นครุย คันธงตอนที่ติดกับธงสักหลาดสีแดงต่อกับริมธงหุ้มรอบคันธง มีหมุดทำด้วยโลหะสีเงิน 35 หมุด หมุดที่ 1 เป็นรูปประเทศไทย หมุดที่ 2 เป็นรูปเสมาธรรมจักร หมุดที่ 3 เป็นรูปพระปรมาภิไธยย่อ หมุดที่ 4 เป็นรูปรัฐธรรมนูญ หมุดต่อไปเป็นรูปเครื่องหมายตราแผ่นดินในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หมุดที่ 1 อยู่บนสุด หมุดต่อไปเรียงลงมาตามลำดับ
ต่อมาเมื่อได้มีการแก้ไข พ.ร.บ.ธง พ.ศ. 2522 ได้กำหนดให้ธงชัยเฉลิมพลและธงประจำกองทหารบก ทหารเรือ และทหารอากาศ ที่มีอยู่แต่เดิมให้เรียกชื่อว่า “ธงชัยเฉลิมพล” ทั้งหมด โดยมิได้บัญญัติรับรองความมีอยู่ของ “ธงชัยเฉลิมพลประจำหน่วยตำรวจ” หรือ “ธงประจำกอง” ของตำรวจ ซึ่งได้รับพระราชทานมาก่อนนั้นแต่อย่างใด หากแต่ใน พ.ร.บ.ดังกล่าวได้บัญญัติธงที่เกี่ยวกับหน่วยตำรวจไว้เพียง “ธงพิทักษ์สันติราษฎร์” เท่านั้น ซึ่งมิใช่ “ธงชัยเฉลิมพลประจำหน่วยตำรวจ” หรือ “ธงประจำกองของตำรวจ” เนื่องจากเป็นธงคนละธง มีลักษณะแตกต่างกัน
 
== ประวัติความเป็นมา ==
ธงชัยประจำหน่วยตำรวจที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนี้ มีลักษณะและส่วนประกอบของธงเหมือนกันกับธงชัยเฉลิมพลของทหารทุกประการ คือผืนธงมีลักษณะอย่างเดียวกับธงชาติ เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้างด้านละ 70 เซนติเมตร ตรงกลางผืนธงมีตราแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีชื่อหน่วยตำรวจ (เช่น"โรงเรียนนายร้อยตำรวจ") เป็นไหมสีแดงริมสีขาวเป็นแถวโค้งโอบใต้ตราแผ่นดิน ผืนธงมุมด้านที่ติดกับคันธงมีรูปพระมหามงกุฎและเลขหมายรัชกาลของพระมหากษัตริย์ที่พระราชทานเป็นตัวเลขไทยมีเหลือง ภายใต้พระมหามงกุฎมีพระปรมาภิไธยย่อสีแดงขลิบริมสีขาว รัศมีสีฟ้า ขอบธงด้านที่ติดกับคันธงมีเกลียวเชือกสีแดงสลับดำ ด้านอื่นมีแถบจีบสีขาวกว้าง 2 เซนติเมตร
 
แต่เดิมนั้นหน่วยทหารบก ทหารเรือ และทหารอากาศ มี “[[ธงชัยเฉลิมพล]]” หรือเรียกว่า “ธงไชยเฉลิมพล” และ “ธงประจำกอง” เป็นธงประจำหน่วย ซึ่งในขณะนั้น หน่วยตำรวจก็มีธงประจำกองของตำรวจ ประจำหน่วยตำรวจต่างๆ เช่นเดียวกับธงชัยเฉลิมพลและธงประจำกองของทหาร
สำหรับส่วนประกอบของธงนั้น ยอดคันธงเป็นรูปช้างสามเศียรภายใต้พระมหามงกุฎทำด้วยโลหะสีเงิน ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปที่ทำพิธีแล้ว เรียกว่า "พระยอดธง" และบรรจุเส้นพระเจ้า (เส้นพระเกศา) ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คันธงมีขนาดกว้างเส้นผ่าศูนย์กลาง 3.5 เซนติเมตร ยาว 2.43 เซนติเมตร คันธงระหว่างฐานช้างสามเศียรกับมุมบนของธง มีแถวธงชาติเป็นโบหูกระต่ายห้อยชายทั้งสอง ยาวเลยมุมธงด้านล่าง ปลายชายแถบทั้งสองเป็นครุย คันธงตอนที่ติดกับธงสักหลาดสีแดงต่อกับริมธงหุ้มรอบคันธง มีหมุดทำด้วยโลหะสีเงิน 35 หมุด หมุดที่ 1 เป็นรูปประเทศไทย หมุดที่ 2 เป็นรูปเสมาธรรมจักร หมุดที่ 3 เป็นรูปพระปรมาภิไธยย่อ หมุดที่ 4 เป็นรูปรัฐธรรมนูญ หมุดต่อไปเป็นรูปเครื่องหมายตราแผ่นดินในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หมุดที่ 1 อยู่บนสุด หมุดต่อไปเรียงลงมาตามลำดับ
 
ต่อมาเมื่อได้มีการแก้ไข พ.ร.บ.ธง พ.ศ. 2522 ได้กำหนดให้ธงชัยเฉลิมพลและธงประจำกองทหารบก ทหารเรือ และทหารอากาศ ที่มีอยู่แต่เดิมให้เรียกชื่อว่า “ธงชัยเฉลิมพล” ทั้งหมด โดยมิได้บัญญัติรับรองความมีอยู่ของ “ธงชัยเฉลิมพลประจำหน่วยตำรวจ” หรือ “ธงประจำกอง” ของตำรวจ ซึ่งได้รับพระราชทานมาก่อนนั้นแต่อย่างใด หากแต่ใน พ.ร.บ.ดังกล่าวได้บัญญัติธงที่เกี่ยวกับหน่วยตำรวจไว้เพียง “ธงพิทักษ์สันติราษฎร์” เท่านั้น ซึ่งมิใช่ “ธงชัยเฉลิมพลประจำหน่วยตำรวจ” หรือ “ธงประจำกองของตำรวจ” เนื่องจากเป็นธงคนละธง มีลักษณะแตกต่างกัน
 
== ความสำคัญ ==