ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รูป (ศาสนาพุทธ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Jo Shigeru (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 2:
'''รูป'''ในทางพุทธศาสนา มีหลายความหมาย ดังนี้
# เป็น[[ธรรมะ]]คำหนึ่งอย่างเช่นในคำว่า [[รูปธรรม]][[นามธรรม]] แปลว่า สิ่งชำรุดทรุดโทรม, สิ่งที่แตกสลาย, สิ่งที่ผันแปรได้
# หมายถึงรูปร่างที่มองเห็นด้วยตา คือร่างกายหรือตัวตนของคน สัตว์สิ่งของ อันเกิดขึ้นจากการรวมตัวของ[[ธาตุ]] 4 คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม จัดเป็น[[ขันธ์ 5]]คือ [[เกิด]][[ แก่ ]][[เจ็บ]] และ[[ ตาย]]
# ใช้เป็นคำแสดงลักษณะหรือลักษณะนามของ[[ภิกษุ]][[สามเณร]] เช่นภิกษุ 3 รูป สามเณร 5 รูป
# ในสมัยก่อนใช้เป็นคำแทนตัวเองของภิกษุสามเณรที่พูดกับ[[คฤหัสถ์]] เช่นเดียวกับคำว่า [[อาตมา]], ฉัน เช่น "''วันนี้รูปไปไม่ได้หรอก[[โยม]] รูปไม่ว่าง''" หมายความว่า "''อาตมาไปไม่ได้ ไม่ว่าง''" นั่นเอง
== รูป๒๘ ==
== มหาภูตรูป๔ ==
[[ปฐวี]]
[[อาโป]]
[[วาโย]]
[[เตโช]]
== อุปาทายรูป๒๔ ==
=== ปสาทรูป๕ ===
จักขุปสาท
โสตปสาท
บรรทัด 18:
ชิวหาปสาท
กายปสาท
=== โคจรรูป๔ ===
รูปะ
สัททะ
คันธะ
รสะ
=== ภาวรูป๒ ===
ปริสภาวะ ภาวะเเห่งบุรุษแห่งบุรุษ
อิตถีภาวะ ภาวะแห่งสตรี
=== หทยรูป๑ ===
=== ชีวิตรูป๑ ===
ชีวิตรูป ความเป็นชีวิต (ชีวิตินทรีย์) ที่เกิดจากกฎพีชนิยามคือ [[สมตา]] (ปรับให้เหมาะสม) ชีวิตา (มีกระบวนการทำงาน) วัฏฏตา (มีระบบสืบพันธุ์)
=== อาหารรูป๑ ===
อาหารรูป
=== ปริจเฉทรูป๑ ===
ปริจเฉทรูป ช่องว่างต่างๆภายในกาย
=== วิญญัติรูป๒ ===
กายวิญญัติ การกระทำทางกาย
วจีวิญญัติ การกระทำทางวาจา
=== วิการรูป๓ ===
รูปปัสสะ ลหุตา ความเบาแห่งรูป
รูปัสสะมุทุตา ความอ่อนแห่งรูป
รูปปัสสะ กัมมัญญตา ความควรแก่การงาน พอเหมาะ พอประมาณ แห่งรูป
=== ลักขณรูป๔ ===
รุปปัสสะ อุจจโย ความเติบโตแห่งรูป
รูปปัสสะ สันตติ ความสืบต่อแห่งรูป