ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: zh:诺曼征服英格兰
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: es:Invasión normanda de Inglaterra; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ใช้ปีคศ|width=300px}}
[[ภาพไฟล์:Bayeux Tapestry WillelmDux.jpg|thumb|300px|The [[ผ้าปักบายู]] (Bayeux Tapestry) แสดงศึกเฮสติงส์และเหตุการณ์ที่นำมาสู่เหตุการณ์ที่ว่า]]
'''ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ''' หรือ '''การรุกรานของชาวนอร์มัน''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Norman conquest of England) เกิดขึ้นในปี [[ค.ศ. 1066]] โดยการรุกราน[[ราชอาณาจักรอังกฤษ]]ที่นำโดย[[สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ|ดยุคแห่งนอร์มังดี]] และชัยชนะที่ได้รับที่[[ศึกเฮสติงส์]] (Battle of Hastings) ผลของสงครามคือการปกครองของ[[ชาวนอร์มัน]]ในอังกฤษ เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นจุดทำให้มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญๆ หลายอย่างใน[[ประวัติศาสตร์อังกฤษ]] ชัยชนะของชาวนอร์มันทำให้อังกฤษเพิ่มความใกล้ชิดระหว่างอังกฤษและ[[ผืนแผ่นดินใหญ่ยุโรป]]โดยการนำเจ้านายนอร์มันเข้ามาปกครองบริหารอังกฤษซึ่งทำให้ลดอิทธิพลจาก[[สแกนดิเนเวีย]]ลง ชัยชนะทำให้เกิดราชวงศ์ที่มีอำนาจมากที่สุดราชวงศ์หนึ่งในยุโรปรวมทั้งการก่อตั้งระบบการปกครองที่มีระเบียบแบบแผน และชัยชนะเปลี่ยนแปลง[[ภาษาอังกฤษ|ภาษา]]และ[[วัฒนธรรม]]อังกฤษและเป็นพื้นฐานของความเป็นคู่แข่งระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศสที่ต่อเนื่องกันมาเป็นพักๆ ร่วมพันปี
 
== ที่มา ==
[[นอร์มังดี]]เป็นบริเวณทางตะวันตกเฉียงเหนือของ[[ประเทศฝรั่งเศส]]ปัจจุบัน ก่อนปี ค.ศ. 1066 [[ไวกิง]]เป็นจำนวนมากเดินทางมาตั้งถิ่นฐานในนอร์มังดี ในปี ค.ศ. 911 [[สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ซิมเปิล]] (Charles the Simple) แห่ง[[ราชวงศ์คาโรลิงเกียน]]ทรงอนุญาตให้ชาวไวกิงกลุ่มหนึ่งภายใต้การนำของ[[โรลโลแห่งนอร์มังดี]] (Rollo of Normandy) ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของฝรั่งเศส โดยทรงหวังว่าไวกิงจะช่วยป้องกันดินแดนทางริมฝั่งทะเลจากการรุกรานของชาวไวกิงกลุ่มอื่นในอนาคตซึ่งก็ได้ผล ชาวไวกิงที่มาตั้งถิ่นฐานรู้จักกันว่า “Northmen” (ชาวเหนือ) ซึ่งมาเพี้ยนเป็น “Normandy” (นอร์มังดี) ต่อมา นอกจากนั้นชาวไวกิงก็ยอมรับ[[วัฒนธรรม]]ท้องถิ่นและละทิ้งความเชื่อ[[ลัทธินอกศาสนา]] (paganism) และเปลื่ยนมานับถือ[[คริสต์ศาสนา]] และเริ่มใช้[[:en:langue d'oïl|langue d'oïl]]ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มแกลโล-โรมานซ์ที่พูดกันในท้องถิ่นแทนภาษานอร์สซึ่งกลายมาเป็น[[ภาษานอร์มัน]] การยอมรับวัฒนธรรมรวมไปถึงการแต่งงานกับชนท้องถิ่น และยังใช้ดินแดน (Duchy) ที่ได้รับมาเป็นฐานในการขยายเขตแดนไปทางตะวันตกผนวกดินแดนที่รวมทั้งเบส์แซง และแหลมโคเต็งแตง และหมู่เกาะแชนเนล (ปัจจุบันเป็นของอังกฤษ)
 
บรรทัด 19:
 
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ]]
* [[ประวัติศาสตร์อังกฤษ]]
บรรทัด 26:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.regia.org/papalpolitics.htm สาเหตุที่พระสันตะปาปาสนับสนุนการรุกรานของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ]
* [http://www.essentialnormanconquest.com การรุกรานของชาวนอร์มัน]
* [http://members.tripod.com/~GeoffBoxell/words.htm ผลของการรุกรานของชาวนอร์มันในปี ค.ศ. 1066 ต่อภาษาอังกฤษ]
* [http://www.bbc.co.uk/history/british/normans/background_01.shtml นอร์มัน - เบื้องหลังชัยชนะ]
* [http://www.dot-domesday.me.uk/in_hast.htm ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ]
* [http://www.eyewitnesstohistory.com/bayeux.htm การรุกรานอังกฤษในปี ค.ศ. 1066]
* [http://www.secretsofthenormaninvasion.com/#PART4 ความลับของการรุกรานของชาวนอร์มัน]
{{โครงประวัติศาสตร์}}
 
{{Link FA|ru}}
 
[[หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับอังกฤษ]]
เส้น 40 ⟶ 39:
[[หมวดหมู่:สงครามยุคกลาง]]
[[หมวดหมู่:สงครามสืบราชบัลลังก์|ชัยชนะ]]
 
{{โครงประวัติศาสตร์}}
{{Link FA|ru}}
 
[[bg:Норманско нашествие в Англия]]
บรรทัด 48:
[[de:Normannische Eroberung Englands]]
[[en:Norman conquest of England]]
[[es:Invasión Normandanormanda de Inglaterra]]
[[fi:Normannivalloitus]]
[[fr:Conquête normande de l'Angleterre]]