ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มวลวิกฤต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: sh:Kritična masa
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: gl:Masa crítica; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
'''มวลวิกฤต''' ({{lang-en|critical mass}}) คือค่าที่น้อยที่สุดของ[[วัสดุฟิสไซล์]]ต้องการเพื่อคงปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ กล่าวคือจะมีอนุภาคนิวตรอนที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาฟิชชันแต่ละครั้งอย่างน้อย 1 ตัว ไปชนกับอีกนิวเคลียสหนึ่งทำให้เกิด[[การแบ่งแยกนิวเคลียส|ปฏิกิริยาฟิชชัน]]ต่อไป มวลวิกฤตของวัสดุฟิชชันได้ขึ้นกับคุณสมบัติทางนิวเคลียร์ (เช่น พื้นที่หน้าตัดสำรับการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์) [[ความหนาแน่น]] รูปทรง กระบวนการแยกไอโซโทป ความบริสุทธิ์ อุณหภูมิ และสภาพแวดล้อม
 
== คำอธิบาย ==
 
คำว่า'''วิกฤต'''อ้างถึงสภาวะสมดุลปฏิกิริยาฟิชชัน (สถานะคงตัว หรือ ปฏิกิริยาลูกโซ่ต่อเนื่อง); ซึ่งไม่มีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงในพลังงาน, อุณหภูมิ, หรือจำนวน[[นิวตรอน]]
บรรทัด 14:
 
มวล'''เหนือวิกฤต''' (supercritical) หรือ มวลวิกฤตยิ่งยวด คือ มวลของวัสดุฟิสไซล์ซึ่งอนุภาคนิวตรอนที่เกิดจากปฏิกิริยาฟิชชันมากกว่า 1 ตัว สามารถชนนิวเคลียสอื่นทำให้เกิดปฏิกิริยาแตกตัวต่อไปได้ ดังนั้นปฏิกิริยาลูกโซ่จะเกิดเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว วัสดุอาจเข้าสู่สมดุล (กล่าวคือ เกิดวิกฤตอีกครั้ง) ที่ระดับอุณหภูมิ/พลังงานยกสูงขึ้นหรือทำลายตัวเอง (การแตกตัวคือสภาวะสมดุล) ในกรณีเหนือวิกฤต '''k > 1'''
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์นิวเคลียร์]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
 
[[ar:كتلة حرجة]]
บรรทัด 30:
[[fi:Kriittinen massa]]
[[fr:Masse critique (réaction nucléaire)]]
[[gl:Masa crítica]]
[[he:מסה קריטית]]
[[it:Massa critica (fisica)]]