ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขยะมูลฝอย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 118:
-------------------------
ข้อ ๓ ในกฎกระทรวงนี้ </br>
[[“มูลฝอย”]] หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์
หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาด จาก ถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ หรือที่อื่น และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตราย
จากชุมชน </br>
[[“มูลฝอยติดเชื้อ” ]]หมายความว่า มูลฝอยติดเชื้อตามกฎกระทรวงว่าด้วยการ
กำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545
</br>
[[“มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน ”]] หมายความว่า เศษสิ่งของ วัสดุ ที่ไม่ใช้แล้วหรือเสื่อมสภาพ รวมถึงภาชนะบรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ
ซึ่งมี หรือปนเปื้อน หรือมีองค์ประกอบของ วัตถุอันตรายที่อาจก่ออันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์หรือสิ่งแวดล้อม
ในขณะนั้นหรืออนาคต
</br>
[[“วัตถุอันตราย” ]]หมายความว่า วัตถุ สารหรือวัสดุที่มีคุณสมบัติ เป็นวัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง หรือวัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
</br>
[[(๑) “มูลฝอยทั่วไป” ]]หมายความว่า มูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆในชุมชน เช่นบ้านพักอาศัย ธุรกิจการค้า สถานประกอบการ สถานบริการ
ตลาดสด สถาบันต่างๆ รวมทั้งเศษวัสดุก่อสร้าง ทั้งนี้ไม่รวมมูลฝอยติดเชื้อ และมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน
</br>
[[(๒) “มูลฝอยทั่วไป” ]]หมายความว่า มูลฝอยที่ไม่ใช่ มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็น
พิษหรืออันตรายจากชุมชน
</br>
[[“การแปรสภาพมูลฝอย” ]] หมายความว่า การดำเนินการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะหรือองค์ประกอบทางกายภาพ เคมี หรือชีวภาพของมูลฝอย เพื่อให้มีความสะดวกและปลอดภัยในการขนส่งการนำกลับไปใช้ประโยชน์ การเก็บรวบรวม หรือการกำจัด</br>
[[“สถานีขนถ่ายมูลฝอย” ]] หมายความว่า สถานที่สำหรับถ่ายเทมูลฝอยจากรถเก็บขน มูลฝอยลงสู่ยานพาหนะขนาดใหญ่ เพื่อขนส่งไปยัง
สถาน
</br>
[[ “สถานที่คัดแยกมูลฝอย”]] หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยซึ่งจัดให้มีการแยกวัสดุที่นำกลับคืนออกจากมูลฝอยเพื่อนำกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่</br>
[[“สถานที่กำจัดโดยเตาเผา” ]] หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยที่ติดตั้งเตาเผาเพื่อใช้เผาทำลายของเสียที่เป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซที่เผาไหม้ได้</br>
[[“สถานที่หมักทำปุ๋ย” ]] หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยที่มีการนำมูลฝอย มาแปรสภาพโดยวิธีการหมักโดยอาศัยขบวนการทางชีววิทยาของจุลินทรีย์ในการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุที่มีอยู่ในมูลฝอย ผลผลิตที่ได้จะมีลักษณะเป็นผงหรือก้อนเล็กๆ สามารถนำไปใช้เป็นสารบำรุงดิน
</br>
[[“สถานที่ฝังกลบมูลฝอย” ]] หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยที่นำมูลฝอยมาเทกองในพื้นที่ซึ่งจัดเตรียมไว้ ใช้เครื่องจักรกลบอัดให้แน่น ใช้ดินกลบทับเป็นชั้น ๆ และได้จัดเตรียมมาตรการป้องกันน้ำชะมูลฝอยไหลซึมลงสู่แหล่งน้ำใต้ดิน การป้องกันกลิ่นและแมลงรบกวน และการแพร่กระจายของเชื้อโรคสู่สภาพแวดล้อมโดยรอบ
</br>
[[“น้ำชะมูลฝอย” ]]หมายความว่า ของเหลวที่ไหลชะล้างผ่านหรือออกมาจากมูลฝอย ซึ่งอาจประกอบด้วย สารละลาย สารแขวนลอยผสมอยู่
</br>
[[“ภาชนะรองรับมูลฝอย” ]]หมายความว่า ภาชนะที่ใช้ในการเก็บ ขน หรือรวบรวมมูลฝอยประเภทต่างๆ
</br>
[[“ภาชนะรองรับมูลฝอย” ]]หมายความว่า ภาชนะที่ใช้ในการเก็บ ขน หรือรวบรวมมูลฝอยประเภทต่างๆ
/br>
 
ข้อ ๔. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ และมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน ต้องดำเนินการตามกฏกระทรวงว่าด้วยการนั้น
บรรทัด 178:
(๓) ตั้งอยู่ห่างจากแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค สถานที่ประกอบอาหาร สถานที่รับประทานอาหาร
บริเวณที่เลี้ยงเด็กอ่อน หรือสนามเด็กเล่น </br>
(๔) มีการกำหนดขอบเขตบริเวณที่ตั้งจุดพักรวมมูลฝอยทั่วไปอย่างชัดเจน สะดวก
ต่อการเก็บรวบรวม และขนไปกำจัด มีเครื่องหมายหรือป้ายแสดงว่าเป็น “จุดพักรวมมูลฝอยทั่วไป”
และมีการดูแลรักษาความสะอาดอยู่เสมอ </br>
บรรทัด 213:
สาธารณะหรือแหล่งน้ำธรรมชาติ</br>
 
ข้อ ๑๔. ผู้ขับขี่ยานพาหนะ ผู้เก็บรวบรวมมูลฝอยต้องได้รับการฝึกอบรม ในเนื้อหาวิชาเกี่ยวกับการป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจากการเก็บ ขน มูลฝอย</br></br>
 
ข้อ ๑๕. สถานีขนถ่ายมูลฝอยทั่วไป ต้องมีลักษณะและการดำเนินการขนถ่ายที่ต้องด้วยสุขลักษณะดังต่อไปนี้</br>
บรรทัด 238:
ข้อ ๑๗. การกำจัดมูลฝอยทั่วไปต้องไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีวิธีดำเนินการ ดังนี้</br>
(๑) การฝังกลบมูลฝอยอย่างถูกหลักสุขาภิบาล ตามข้อ ๑๘</br>
(๒) การเผาในเตาเผา ตามข้อ ๑๙</br>
(๓) การหมักทำปุ๋ย ตามข้อ ๒o</br>
บรรทัด 245:
 
ข้อ ๑๘. การฝังกลบมูลฝอยอย่างถูกหลักสุขาภิบาล ต้องดำเนินการให้ถูกสุขลักษณะและเกณฑ์มาตรฐานดังนี้</br>
(๑) สถานที่ตั้งเหมาะสม เป็นพื้นที่ดอนระดับน้ำใต้ดินอยู่ลึก ในกรณีเป็นพื้นที่ลุ่มที่มีโอกาสเกิดน้ำท่วมฉับพลัน
หรือน้ำป่าไหลหลากจะต้องมีมาตรการป้องกันแก้ไข มีระบบป้องกันการปนเปื้อนของน้ำใต้ดินจากน้ำชะมูลฝอยและ
มีการรวบรวมและบำบัดให้ได้ตามมาตรฐานสิ่งแวดล้อมหรือตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกำหนด ก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ
สาธารณะหรือแหล่งน้ำธรรมชาติ </br>
(๒) มีการป้องกันปัญหา กลิ่นจากมูลฝอย การปลิวของมูลฝอย ฝุ่นละอองจากการขนส่ง เสียงดังรบกวน เหตุรำคาญ
สัตว์และแมลงพาหะนำโรค ตลอดจนผลกระทบอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นต่อชุมชน</br>
(๓) ต้องสุ่มตัวอย่างน้ำจากบ่อติดตามตรวจสอบ น้ำชะมูลฝอย และน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อวิเคราะห์
คุณภาพน้ำอย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง</br>
(๔) ต้องตรวจสอบอากาศพิษจากหลุมฝังกลบ อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง</br>
 
ข้อ ๑๙. การกำจัดมูลฝอยทั่วไปโดยการเผาในเตาเผา ต้องเผามูลฝอยทั่วไปที่อุณหภูมิไม่ต่ำกว่า 1,000 เซลเซียส