ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขยะมูลฝอย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 118:
บททั่วไป
-------------------------
ข้อ ๓ ในกฎกระทรวงนี้
**** “มูลฝอย” หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์
หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาด จาก ถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ หรือที่อื่น และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน<br/>
**** “มูลฝอยติดเชื้อ” หมายความว่า มูลฝอยติดเชื้อตามกฎกระทรวงว่าด้วยการ
กำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545
**** “มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน ” หมายความว่า เศษสิ่งของ วัสดุ ที่ไม่ใช้แล้วหรือเสื่อมสภาพ รวมถึงภาชนะบรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ
ที่ไม่ใช้แล้วหรือเสื่อมสภาพ รวมถึงภาชนะบรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ ซึ่งมี หรือปนเปื้อน หรือมีองค์ประกอบของ วัตถุอันตรายที่อาจก่ออันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์หรือสิ่งแวดล้อม
ในขณะนั้นหรืออนาคต
**** “วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุ สารหรือวัสดุที่มีคุณสมบัติ เป็นวัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์ วัตถุมีพิษ
วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง หรือวัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
(๑) “มูลฝอยทั่วไป” หมายความว่า มูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆในชุมชน เช่นบ้านพักอาศัย ธุรกิจการค้า สถานประกอบการ สถานบริการ
ตลาดสด สถาบันต่างๆ รวมทั้งเศษวัสดุก่อสร้าง ทั้งนี้ไม่รวมมูลฝอยติดเชื้อ และมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน
(๒) “มูลฝอยทั่วไป” หมายความว่า มูลฝอยที่ไม่ใช่ มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็น
พิษหรืออันตรายจากชุมชน
“การแปรสภาพมูลฝอย” หมายความว่า การดำเนินการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะหรือองค์ประกอบทางกายภาพ เคมี หรือชีวภาพของมูลฝอย
เพื่อให้มีความสะดวกและปลอดภัยในการขนส่งการนำกลับไปใช้ประโยชน์ การเก็บรวบรวม หรือการกำจัด
“สถานีขนถ่ายมูลฝอย” หมายความว่า สถานที่สำหรับถ่ายเทมูลฝอยจากรถเก็บขน มูลฝอยลงสู่ยานพาหนะขนาดใหญ่ เพื่อขนส่งไปยัง
มูลฝอยลงสู่ยานพาหนะขนาดใหญ่ เพื่อขนส่งไปยังสถานที่แปรสภาพหรือกำจัดมูลฝอย
“สถานที่คัดแยกมูลฝอย” หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยซึ่งจัดให้มีการแยกวัสดุที่นำกลับคืนออกจากมูลฝอยเพื่อนำกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่
“สถานที่กำจัดโดยเตาเผา” หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยที่ติดตั้งเตาเผาเพื่อใช้เผาทำลายของเสียที่เป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซที่เผาไหม้ได้
“สถานที่หมักทำปุ๋ย” หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยที่มีการนำมูลฝอย มาแปรสภาพโดยวิธีการหมักโดยอาศัยขบวนการทางชีววิทยาของจุลินทรีย์ในการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุที่มีอยู่ในมูลฝอย ผลผลิตที่ได้จะมีลักษณะเป็นผงหรือก้อนเล็กๆ สามารถนำไปใช้เป็นสารบำรุงดิน
“สถานที่ฝังกลบมูลฝอย” หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยที่นำมูลฝอยมาเทกองในพื้นที่ซึ่งจัดเตรียมไว้ ใช้เครื่องจักรกลบอัดให้แน่น ใช้ดินกลบทับเป็นชั้น ๆ และได้จัดเตรียมมาตรการป้องกันน้ำชะมูลฝอยไหลซึมลงสู่แหล่งน้ำใต้ดิน การป้องกันกลิ่นและแมลงรบกวน และการแพร่กระจายของเชื้อโรคสู่สภาพแวดล้อมโดยรอบ
“น้ำชะมูลฝอย” หมายความว่า ของเหลวที่ไหลชะล้างผ่านหรือออกมาจากมูลฝอย ซึ่งอาจประกอบด้วย สารละลาย สารแขวนลอยผสมอยู่
เส้น 146 ⟶ 149:
การเก็บมูลฝอยทั่วไป
-----------------------
ข้อ ๖. ในการเก็บมูลฝอยทั่วไป ผู้ก่อให้เกิดมูลฝอยทั่วไปต้องเก็บมูลฝอยทั่วไป ในภาชนะบรรจุที่ต้องด้วยสุขลักษณะ ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยเป็นไปตามข้อกำหนดของท้องถิ่น
ข้อ ๗. ในการใช้ภาชนะรองรับมูลฝอยทั่วไป ผู้ก่อให้เกิดมูลฝอยทั่วไปต้องจัดให้มีภาชนะรองรับที่มีลักษณะดังนี้
(๑.) ทำจากวัสดุที่ทำความสะอาดง่าย มีความแข็งแรง ทนทานต่อการกัดกร่อน ไม่รั่วซึม มีฝาปิดมิดชิด ป้องกันการหกหล่นของมูลฝอย และสามารถป้องกันสัตว์และแมลงพาหะนำโรคได้
(๒.) มีน้ำหนักเบา ขนาดพอเหมาะสามารถเคลื่อนย้ายได้โดยสะดวก ง่ายต่อการ
ถ่าย เท มูลฝอย
ข้อ ๘. ราชการส่วนท้องถิ่นอาจกำหนดให้อาคาร สถานที่ของรัฐและเอกชน ที่ก่อให้เกิดมูลฝอยทั่วไปในปริมาณมาก ต้องจัดให้มีที่พักรวมมูลฝอย
ทั่วไปสำหรับอาคาร สถานที่นั้น และปฏิบัติให้ต้องด้วยสุขลักษณะดังนี้
(๑) เป็นอาคารแยกเป็นสัดส่วนเฉพาะ ตั้งอยู่ในสถานที่ที่สะดวกต่อการขนถ่ายมูลฝอยห่างจากแหล่งน้ำเพื่อ
การอุปโภค บริโภคและสถานที่ประกอบอาหาร
(๒) พื้น ผนัง เรียบ ทำด้วยวัสดุที่ทำความสะอาดง่าย มีลักษณะโปร่ง มีระบบระบายอากาศที่ดี มีขนาดกว้างเพียงพอสำหรับเก็บกักภาชนะบรรจุ
มูลฝอย และมีการป้องกันสัตว์ แมลงพาหะนำโรค
(๓) มีการดูแลไม่ให้มีกลิ่นเหม็นและรักษาความสะอาดอยู่เสมอ
กรณีอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องจัดให้มีที่พักรวมมูลฝอยทั่วไปให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยควบคุมอาคารด้วย
ข้อ ๙. ราชการส่วนท้องถิ่นอาจกำหนดให้มีจุดพักรวมมูลฝอยทั่วไป ในสถานที่สาธารณะหรือชุมชนเพื่อความสะดวกในการเก็บ ขนมูลฝอยทั่วไป โดยมีลักษณะ ดังนี้
(๑) แยกเป็นสัดส่วนเฉพาะ
(๒) ภาชนะรองรับมูลฝอยทั่วไป ทำจากวัสดุที่ทำความสะอาดง่าย มีความแข็งแรง ทนทานต่อการกัดกร่อน ไม่รั่วซึม มีฝาปิดมิดชิด สามารถป้องกันสัตว์และแมลงพาหะนำโรคได้ มีขนาดเหมาะสมสามารถเคลื่อนย้ายหรือ ขนได้โดยสะดวก