ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาเอี่ยนหู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fr:Anguille marbrée
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: fr:Grande anguille marbrée; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
{{Taxobox
| name = ปลาตูหนาลาย<br />ปลาไหลหูขาว<br />ปลาเอี่ยนหู
| image = Oounagi070224.jpg
| image_caption =
บรรทัด 15:
| binomial_authority = Quoy & Gaimard, [[ค.ศ. 1824]]
}}
'''ปลาตูหนาลาย''' หรือ '''ปลาไหลหูขาว''' มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Anguilla marmorata'' อยู่ใน[[วงศ์ปลาตูหนา]] (Anguilla) มีลำตัวยาวเหมือน[[ปลาตูหนา]] (''A. bicolor'') ปากกว้าง ครีบอกสีจางรูปกลมรีอันเป็นที่มาของชื่อ ปลาไหลหูขาว ครีบหลังค่อนมาทางด้านหน้าลำตัว แต่ครีบก้นอยู่ไปทางด้านหลังลำตัว ลำตัวด้านบนมีลวดลายสีเทาคล้ำอมเหลืองและมีสีประทั้งเข้มและจางปะปนกันไปคล้าย[[ปลาสะแงะ]] (''A. bengalensis'') ใต้ท้องมีสีน้ำตาลอมเหลือง
 
มีขนาดโตเต็มได้ราว 1 เมตร พบกระจายอยู่อย่างกว้างขวางตั้งแต่ฝั่ง[[แอฟริกาตะวันออก]] ถึง[[เฟรนช์โปลินีเซีย]] พบในภาคใต้ของ[[ประเทศญี่ปุ่น]]และ[[ไต้หวัน]] ใน[[ประเทศไทย]]พบเฉพาะใน[[แม่น้ำโขง]]แถบชายแดนไทย-[[ลาว]] และเรื่อยไปตามแม่น้ำโขงจนถึง[[ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง]]ใน[[เวียดนาม]] โดยมีชื่อเรียกใน[[ภาษาอีสาน]]ว่า "ปลาเอี่ยนหู"
 
จัดเป็นปลาที่พบได้น้อยมาก เมื่อถูกชาวบ้านจับได้จะพบปรากฏเป็นข่าวฮือฮา บ้างจะถือว่าเป็น[[พญานาค]]บ้าง หรือปลาเจ้าบ้าง
บรรทัด 33:
 
[[en:Marbled eel]]
[[fr:AnguilleGrande anguille marbrée]]
[[ja:オオウナギ]]
[[ko:무태장어]]