ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิ ลิ้มทองกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 66:
 
[[en:Sondhi Limthongkul]]
 
 
นายสนธิ เป็นคนฉลาดเกมโกง พูดเก่ง ความรู้สูง เป็นลูกน้องเก่าของนาย พอล สิทธิอำนวย ซึ่งโกงเงินธนาคาร ๒๐๐๐ พันล้านบาท ก่อนที่จะหลบหนีมาอยู่อเมริกาเมื่อ ๓๐ ปีที่แล้วนายสนธิเลยได้ผลประโยชน์โดยรับกิจการมีเดียต่อจากนายพอลโดยไม่ต้องเสียสตางค์แม้แต่บาทเดียวเพราะนายพอลโอนชื่อกิจการทั้งหมดมาให้แก่นายสนธิก่อนจะหลบหนีมาเสบสุขในอเมริกาพร้อมกับเงินที่ปล้นมาได้หลังจากนั้นนายสนธิก้ได้สถาปนาตัวเองเป็นเจ้าแห่งมีเดียของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ก็ว่าได้
(King of Media of Southeast Asia)กิจการมีเดียของนายสนธิก็เจริญขึ้นเรี่อยๆ มีทั้งหนังสือพิมพ์ แมกกาซีนรายการวิทยุและโทรทัศน์ท้งในและนอกประเทศจนเป็นที่ประทับใจของนักธุรกิจที่อยู่ในวงการมีเดียเป็นอย่างมากเมื่อขอเงินกู้จากธนาคารก็มักจะไม่มีปัญหานายสนธิเลยซื้อกิจการทุกอย่างที่ขวางหน้า ไม่ว่ามีเดีย
มีกำไรหรือขาดทุนขอให้มีชี่อเป็นเจ้าของหรือที่ฝรั่งเรียกว่า Publisher นายสนธิซื้อหมดตัวอย่างที่ดังที่สุด ครั้งสุดท้าย คือการซื้อแมกกาซีนอเมริกันที่มีฐานในนิวยอรค์และลอส แอนเจลสีส ชื่อ Buzz Magazineซี่งเป็นแมกกาซีนที่จะเจ้งอยู่แล้วแต่ความกะสันของนายสนธิที่อยากจะเห็นชื่อของตัวเองว่า Publisher: Sondhi Limthongkul
เป็นเจ้าของแมกกาซีนฝร้งซึ่งลอบล้อมไปด้วยนักเขียนที่มีชื่อฝรั่งทั้งนั้นและการที่อยากโก้อวดฉลาดเลยซื้อด้วยราคาที่สูงลิ่ว ในราคา ๑๖๐๐ ล้านบาทหรือ ๔๐ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งคนขายก็ไม่เชื่อกับตาเพราะโฆษณาขายแมกกาซีนนี้แต่ไม่มีหน้าไหนกล้ามาซื้อแม้แต่คนเดียวยังจำได้ว่าตอนเปิดตัวเจ้าของใหม่มีการกินเลี้ยงกันที่โรงแรมหรูใน Beverly Hills นายสนธิเดินชนแก้วนบันรีไวน์กับนักหนังสือพิมพ์ไทยในแอลแอด้วยความโก้หรูนายสนธิโก้อยู่ได้แค่ หนี่งปีสองเดือน Buzz ก้ต้องปิดกิจการเพราะไม่มีเงินจ่ายให้กับพนักงานฝร้งทั้งหลายนายสนธิพยายามจะขายต่อให้คนอื่นแต่ไม่มีใครอยากซื้อ เงิน ๑๖๐๐ล้านบาท ก็คือเงินกู้จากแบ๊งไทยนั่นเอง
นายสนธิมักจะกล่าวว่าเป็นคนสนับสนุนและช่วยให้คุณทักษินเป็นนายกเพราะฉะนั้นเขาก็คิดว่านายกทักษิณคงจะตอบแทนบุญคุณด้วยการแต่งตั้งบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวของซึ่งบุคคลนี้เป็นคนสนิทของนายสนธิและคงจะมีสิทธิ์ปรุงแต่งให้เป็นหนี้ลดลงจาก๖๐๐๐ล้านบาทให้เหลือแค่๓๐๐ล้านบาท นายกตอบปฎิเสธทันทีและบอกว่านั่นเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายถ้าเป็นนายกบางคนในอดีตที่อยากได้เงินก็ไม่แน่อาจจะมีการต่อลองกับนายสนธิก็ได้หลังจากนั้นมานายสนธิก็สัญญากับตัวเองว่าจะทำทุกอย่างเพื่อให้นายกทักษิณออกจากตำแหน่งให้ได้โดยหวังว่าผู้นำคนใหม่อาจจะมีส่วนช่วยให้หนี้ก้อนโตนี้ออกจากอกของนายสนธิปัญหาของนายสนธิเป็นปัญหาที่เขาสร้างขั้นมาทั้งสิ้นไม่เกี่ยวกับการกู้ชาติที่เขาเอามาอ้างกับประชาชน แลเขารู้อยู่แก่ใจว่าถ้านายกทักษิณได้กลับมาอีกครั้งหนึ่งนายสนธิจะไม่มีแผ่นดินอยู่ในประเทศไทยอย่างแน่นอน และอาจจะต้องเผ่นหนีมาอยู่อเมริกา เฉกเช่นเจ้านายเก่าของเขา เมี่อ ๓๐ ปีที่แล้ว
 
ด้วยปรัชญาการทำธุรกิจสื่อสารมวลชนของสนธิ ลิ้มทองกุล ที่กำหนดบทบาทและหน้าที่อันชัดเจนของสื่อ ว่า”ต้องรับใช้ทุน” และสื่อต้องทำหน้าที่แสวงหารายได้มาให้คุ้มค่ากับการลงทุน สื่อจึงยืนอยู่ได้ สื่อในทัศนะของสนธิ จึงเสมอเพียงสินค้าทั่วๆ ไปเท่านั้น มิได้มีตู๊ดดามหมายพิเศษดังเช่นสื่อในมุมมองของนักวิชาการ และนักวิชาชีพคนอื่นๆ
แน่นอนว่า ทุนที่กำลังอ้างถึงอยู่ในขณะนี้ ก็คือ “ผู้ลงทุน” นั่นเอง ซึ่งโดยนิตินัยแล้ว สื่อในเครือผู้จัดการ ก็ย่อมต้องนับใช้บริษัท ไทยเดย์ดอทคอม และ เดอะแมเนเจอร์มีเดียกรุ๊ป จำกัด แต่ในทางพฤตินัยแล้ว พูดกันให้ชัดถ้อยชัดคำและชัดเจนในเจตนารมณ์ ก็ต้องบอกว่าสื่อในเครือผู้จัดการ ก็ต้องมีหน้าที่รับใช้ สนธิ ลิ้มทองกุล ในฐานะผู้ลงทุน ในฐานะผู้ที่ไปกู้เงินมาหลายร้อยหลายพันล้านบาท เพื่อประกอบธุนกิจชนิดนี้
ดังนั้นจึงไม่แปลกอะไรอีกเช่นกัน หากในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา
ที่เราจะได้เห็นการนำเสนอข้อมูลด้านเดียวของข่าวสารที่ปรากฏอยู่บนสื่อในเครือผู้จัดการทุกเล่ม ทุกคลื่น และทุกรายการ ที่นำเสนอต่อสาธารณะ
อีกทั้งไม่จำเป็นต้องคาดเดาให้ยุ่งยากว่าการนำเสนอข้อมูลด้านเดียวของสื่อ เครือผู้จัดการ เป็นข้อมูลด้านใด และมีเจตนารมณ์ชนิดใด จึงต้องทำเช่นนี้
ก็แม้แต่ คำเตือนที่ทรงคุณค่ายิ่งของ พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ องคมนตรี และสะท้อนให้เห็นถึงความห่วงใยขององคมนตรี ซึ่งก็คือผู้แทนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่มีต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจากการปลุกปั่นกระแสของสนธิ ที่ใช้สถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นเครื่องมือ ตามสำนวนของเปลว สีเงิน แห่งไทยโพสต์ที่สะบัดปากกาใส่ว่า” กำลังโหนกำแพงสู่เป้าหมายของตัวเอง” ซึ่งได้รับการนำเสนอเผยแพร่ ทางสื่อสารมวลชนทุกประเภท ทุกรายการ และทุกสังกัด กลับไม่ได้รับการนำเสนอให้ประชาชนรับทราบจาก สนธิ และสื่อในเครือผู้จัดการ แม้แต่คำเดียว
“คงไม่ใช่กองทัพอย่างเดียว ในส่วนที่เป็นองคมนตรีเห็นว่า มีการอ้างอิงสถาบันจากหลายๆ ฝ่าย เป็นการกระทำที่ไม่เหมาะไม่ควร เพราะสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นสถาบันสูงสุด ที่ไม่ควรอ้างอิง และเกี่ยวข้องกับการเมือง เมื่อเป็นสถาบันที่เรายกย่อง ศรัทธา เป็นสถาบันที่เราเคารพนับถือ ก็ไม่ควรนำมาเกี่ยวข้องกับเรื่องการเมือง การเมืองก็ควรจะแก้ด้วยการเมือง”
ข้อความที่เต็มไปด้วยความไม่สบายใจและความห่วงใยจากองคมนตรีพล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ เช่นนี้ ไม่มรสาระที่สื่ออย่างสนธิ สื่อเครือผู้จัดการ จะนำเสนอหรืออย่างไร คงอาจเป็นเพราะว่า ขณะนี้ สื่อในเครือผู้จัดการ สื่อในสังกัดสนธิ ลิ้มทองกุล มิได้ทำหน้าที่ต้องนำเสนอข้อเท็จจริงใดๆ หากแต่มีหน้าที่ต้องรับใช้ทุน รับใช้เงินที่สนธินำมาฟาดหัว และแจกจ่าย รับใช้สนธิ ที่กำลังมีความพยาบาท อาฆาตมาดร้าย ต่อพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ที่ไม่ทำงานตามที่สนธิต้องการ
ถามว่าระหว่างพล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ องคมนตรี พูด กับสนธิ ลิ้มทองกุล พูด
ด้วยหัวใจของสื่อมืออาชีพ หรือสื่อวิชาชีพที่ไม่มีจิตเจตนาซ่อนเร้น ควรจะรายงานคำพูดของใครก่อน ด้วยเหตุใด และคำพูดของมีคุณค่าสำหรับประชาชนมากกว่ากัน
ถามว่าระหว่างคำพูดที่เต็มไปด้วยความห่วงใยบ้านเมือง และสถาบันกษัตริย์ขององคมนตรี กับคำพูดที่เต็มไปด้วยอารมณ์แค้น กราดเกรี๊ยว การปลุกระดม เพื่อประโยชน์แห่งธุรกิจของตนเอง โดยอ้างสถาบันกษัตริย์ และประเทศชาติบังหน้า ของนักธุรกิจคนหนึ่ง ที่มุ่งแสวงหากำไรจากการลงทุนเป็นลำดับแรกของความคิด
ด้วยหัวใจของสื่อมืออาชีพ หรือสื่อวิชาชีพที่ไม่มีจิตเจตนาซ่อนเร้น ควรจะนำเสนอคำพูดของใครให้ประชาชนได้รับทราบก่อน และคำพูดของใครมีน้ำหนัก มีสาระมากกว่ากัน และคำพูดของใครมีคุณค่าแก่ประเทศชาติ และภักดีต่อสถาบันกษัตริย์มากกว่ากัน
เหตุที่เป็นเช่นนี้ ก็เพียงเพราะว่า พล.อ.สุรยุทธ์ ไม่ใช่ทุน ที่สื่อเครือผู้จัดการต้องรับใช้ สนธิต่างหากเล่า คือ ทุน ที่สื่อเครือผู้จัดการต้องรับใช้
หรือ สนธิ ลิ้มทองกุล จะถาม พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ อีกสักคนไหมว่า”ใครจงรักภักดีต่อสถาบันกษัตริย์มากกว่ากัน”
เพราะสื่อในเครือผู้จัดการไม่ได้ทำหน้าที่ที่แท้จริงของสื่อมวลชนแล้ว หาแต่ทำหน้าที่สื่อที่ต้องรับใช้สนธิ เพียงผู้เดียว เพราะ สนธิ คือ “ทุน”ของเครือผู้จัดการ
เมื่อสนธิ คือ ”ทุน”ของเครือผู้จัดการแล้ว จึงไม่ใช่เรื่องแปลกประหลาดใดเลย ที่สื่อเครือผู้จัดการ ต้องขวนขวายทำหน้าที่รับใช้ และเสาะแสวงหากำไรให้กับสนธิ ไม่ว่าจะเป็นกำไรทางตรง กำไรทางอ้อม กำไรทางธุรกิจ กำไรทางสังคม และที่น่ากลัวยิ่งก็คือ เป็นการเสาะแสวงหากำไรมาตอบแทนการลงทุน โดยไม่เลือกวิธีการ บิดเบือน ปกปิด ปลุกระดม ฉวยโอกาสขายเสื้อ”เราจะสู้เพื่อในหลวง” ทำได้ทั้งนั้น เพื่อตอบแทนและรับใช้”ทุน”
แรงจูงใจที่ทำให้นักสื่อสารมวลชนมืออาชีพ ต้องฉีกทฤษฎี ฉีกตำราสื่อสารมวลชนขั้นพื้นฐาน ที่ว่าด้วยการนำเสนอข้อมูลสองด้าน การนำเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชน การนำเสนอข้อมูลที่มีผลกระทบต่อประชาชนส่วนรวม เป็นสิ่งที่พึงกระทำก่อนการนำเสนอข้อมูลเพื่อประโยชน์ส่วนตน และไม่ควรนำเสนอข้อมูลด้านเดียว แน่นอนว่าต้องยิ่งใหญ่เป็นพิเศษ หากไม่เป็นผลประโยชน์ก้อนใหญ่ ก็คงเป็นเพราะผิดหวังอย่างยิ่งใหญ่
ก่อนหน้าที่จะเกิดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร การทำหน้าที่ของสนธิ ในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์หลายครั้งหลายตอน ที่นำมาเสนอให้อ่านกันในบางช่วงบางตอน แสดงให้เห็นแล้วว่าในห้วงเวลานั้น สื่อแบบสนธิ ก็เคยรับใช้พ.ต.ท.ทักษิณ และรัฐบาลมาก่อน เพราะเห็นว่ารัฐบาลเป็นแหล่งทุนที่จะเสาะแสวงหาเงินไปใส่ให้กับเครือผู้จัดการ เป็นทั้งทุนที่ให้โอกาสในการทำมาหากิน เป็นทั้งทุนที่ให้เงินสนับสนุนโดยตรง เป็นทั้งทุนที่ทำให้สื่อแบบสนธิ มีเครดิตมากขึ้นอีกครั้งในการชุบชีวิตเครือผู้จัดการ
จวบจนกระทั่งรัฐบาล หยุดการสนับสนุนสื่อเครือผู้จัดการนั่นเอง สื่อแบบสนธิ จึงเห็นว่าหมดหน้าที่ต้องรับใช้ และทำในสิ่งที่ตรงกันข้ามคือ โจมตี แว้งกัดอย่างรุนแรงและหนักหน่วง อันเนื่องจากเพราะผิดหวังรุนแรงกับรัฐบาล นั่นเอง
และความผิดหวังที่เกิดขึ้นนี้เอง ที่ทำให้สนธิ ต้องเปิดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร เพื่อชำระ”แค้นสั่งฟ้า” ที่อยู่ในใจของตัวเองเป็นครั้งที่สอง หลังจากที่ชำระแค้นครั้งแรก โดยมีธารินทร์ นิมมานเหมินท์ เป็นคู่แค้นที่ถูกชำระไปเรียบร้อยแล้ว
ย้อนรอยเส้นทางการเดินกลับคืนสู่ประเทศไทยของสนธิรอบนี้ จะพบว่าการรับใช้ทุนของสื่อเครือผู้จัดการยุคใหม่ หลังสงครามเศรษฐกิจ ปี 2540 สงบลงนั้น ปรากฏชัดเจนอย่างยิ่งว่ามีการเลือกข้างมาตั้งแต่ต้น ในการรับใช้ทุนการเมืองกลุ่มหนึ่งโจมตีใส่พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งเป็นรัฐบาลในขณะนั้นจนเสียศูนย์ และกำลังสนับสนุนที่สำคัญของกลุ่มทุนการเมืองในพรรคไทยรักไทย ซึ่งฉายภาพชัดแจ้งเป็นอย่างยิ่งภายหลังการเลือกตั้งปี 2544 สิ้นสุดลง ด้วยชัยชนะอย่างท่วมท้นของพรรคไทยรักไทย ที่มีต่อพรรคประชาธิปัตย์ และทุกพรรคการเมือง
หลังจากพรรคประชาธิปัตย์ หลุดวงโคจรของอำนาจ และพรรคไทยรักไทย ได้เข้ามาสวมต่อการใช้อำนาจรัฐแทน สถานการณ์ในขณะนั้น พรรคไทยรักไทยยิ่งใหญ่เกรียงไกรอย่างมากในแวดวงการเมือง ในขณะที่ สนธิ ลิ้มทองกุล ก็เตรียมตัวที่จะกลับสู่ยุคความยิ่งใหญ่ในแวดวงธุรกิจสื่อสารมวลชนอีกครั้ง ด้วยเหตุผลที่ผู้บริหารคนสำคัญของรัฐบาล ล้วนแต่ผูกพันกับสนธิมาช้านาน ทั้งแบบเพื่อนฝูง พรรคพวก และลูกจ้าง
“น้ำขึ้นให้รีบตัก” เป็นภาษิตที่นำมาใช้ได้ดีกับสนธิ ในห้วงเวลาที่รัฐบาลพรรคไทยรักไทย ครองอำนาจรัฐใน 4 ปีแรก สื่อในเครือผู้จัดการ และไทยเดย์ดอทคอม เร่งทยอยเปิดตัวสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน นิตยสาร สื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน์ และสถานีข่าวโทรทัศน์ 11 News 11 ซึ่งสื่อในเครือผู้จัดการทุกเล่ม ทุกรายการ ได้รับการตอบรับอย่างอบอุ่นจากหน่วยงานรัฐ ทั้งรัฐวิสาหกิจ และราชการ ชนิดที่สื่อสำนักอื่นๆ ได้แต่มองตาปริบๆ พร้อมกับทำปากขมุบขมิบด้วยความอิจฉา
การอุดหนุนสื่อในเครือผู้จัดการของหน่วยงานรัฐ จนแทบจะไม่มีพื้นที่และเวลาให้ออกโฆษณา ส่งผลให้สนธิตกเป็นเป้าของสมาชิกวุฒิสภา เจิมศักดิ์ ปิ่นทองและนักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์ ที่เห็นว่าการสนับสนุนอย่างมากมายและคับคั่งเช่นนี้ ไม่ใช่ภาวะปกติ หากแต่ต้องมี”คำสั่ง” ให้หน่วยงานต่างๆ สนับสนุนและอุดหนุนเป็นพิเศษแก่สื่อเครือผู้จัดการ ที่อยู่ภายใต้การบัญชาการของสนธิ ลิ้มทองกุล
แน่นอนว่า หลักฐาน”คำสั่ง” ย่อมหาไม่ได้ และจะมี”คำสั่ง” จริงหรือไม่ ก็ไม่มีใครทราบได้ หากแต่สิ่งที่มีแน่นอน และปรากฏขึ้นในภายหลังก็คือ คำบอกเล่าของผู้บริหารหน่วยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ ที่ตกเป็นจำเลยของ เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง ก็คือ”คำแอบอ้าง” ที่มีไปถึงรัฐวิสาหกิจเกือบทุกแห่ง
รัฐวิสาหกิจเกือบทั้งหมดในกระทรวงการคลัง และกระทรวงคมนาคม อาทิ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ โรงงานยาสูบ การบินไทย การสื่อสารแห่งประเทศไทยฯลฯ ต่างทยอยเข้าคิวทำสัญญาซื้อพื้นที่และเวลาโฆษณา กับเครือผู้จัดการ เป็นเงินรวมกันหลายร้อยล้านบาท และแน่นอนว่าความพร้อมใจกันซื้อโฆษณาแบบมิได้นัดหมายในแบบที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนนี้
จากการตรวจสอบห้วงเวลา”น้ำขึ้น” นั้น สนธิ ได้ตักเข้าไปใส่ในเครือผู้จัดการแบบไม่หยุดหย่อน และไม่แบ่งให้ใครตักบ้างเลย พบว่ามีรายงานการซื้อขายที่น่าสนใจอยู่ 2 รายการ (เท่าที่ตรวจสอบพบ) คือ
1.บริษัทปตท.จำกัด(มหาชน) ซื้อโฆษณาสื่อเครือผู้จัดการ ตั้งแต่ปี 2548-2548 รวมทั้งสิ้น 54,637,987 บาท
นอกจากนี้ปตท. ยังได้ทำสัญญาซื้อโฆษณากับ 11 News 1 อีก 60,000,000 บาท แต่เนื่องจาก 11 News 1 ต้องมีอันเป็นไป ถูกระงับการออกอากาศเสียก่อน ส่งผลให้สัญญาการซื้อเวลาโฆษณาระหว่างปตท. กับ 11 News 1 ต้องสิ้นสุดลงไปด้วย ในขณะที่เพิ่งใช้จ่ายเงินไปเพียง 10 ล้านบาท
การซื้อสื่อสิ่งพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ไม่ใช่สิ่งที่ต้องสงสัย เพราะเป็นสื่อที่มีการผลิตเพื่อจำหน่ายกันมานานแล้ว และปตท.ก็เคยซื้อสื่ออยู่เป็นประจำ แต่กับการทำสัญญาซื้อโฆษณาใน 11 News 1 ที่เพิ่งก่อตั้งใหม่ และสนธิ ก็เป็นเพียงผู้รับจ้างทำข่าว ให้กับบริษัท RNT เจ้าของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม 11 /1 ตัวจริง(ตามคำบอกเล่าของสนธิ ในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร)นั้นเป็นเรื่องที่น่าประหลาดใจ และต้องสงสัย
การทำสัญญาซื้อสื่อโฆษณาจำนวน 60,000,000 บาท ไม่ใช่เงินจำนวนน้อยนิดสำหรับบริษัทที่กระทรวงการคลังถือหุ้นอยู่ 70% เหตุใดจึงมีการใช้วิจารณญาณหรือใช้การพิจารณาบนพื้นฐานข้อมูลใด ว่าสมควรจะใช้จ่ายเงินเพื่อสนับสนุนการเกิดขึ้นของสถานีโทรทัศน์ระบบดาวเทียม 11/1 มากถึงเพียงนี้ ทั้งๆ ที่ยังไม่มีความชัดเจนว่า 11/1 ดำเนินการถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ และ 11 News 1 ของสนธิจะได้ออกอากาศนานเพียงใด เพราะสนธิ เป็นเพียงผู้รับจ้างทำข่าวเท่านั้น และเมื่อสนธิไม่ใช่เจ้าของสถานีโทรทัศน์แห่งนี้ ทำไมปตท.จึงไปทำสัญญาซื้อสื่อโฆษณากับสนธิ หรือในนามไทยเดย์ดอทคอม
คำถามเหล่านี้มีการซักไซ้ไล่เลียงกันในปตท. ซึ่งไม่มีผู้ใดสามารถตอบได้ชัดเจน ทุกคนทราบแต่ว่า การจ่ายเงินจำนวนมากขนาดนี้ ต้องมี”ผู้ใหญ่” สั่งมา แต่เป็น”ผู้ใหญ่”คนใด ไม่มีใครทราบ และจนถึงวันนี้ก็ยังไม่ทราบว่า”ผู้ใหญ่”คนนั้นคือใคร หน้าตาเป็นอย่างไร เพราะ”ผู้ใหญ่”นั้นสั่งมาในรู)คำบอกเล่า คำอ้าง ไม่ได้มาด้วยตัวเอง ไม่มีแม้กระทั่ง”เสียง” แต่ความน่าเชื่อถือของผู้อ้างมีสูงมาก จนทำให้มีการทำสัญญาซื้อสื่อโฆษณา 60,000,000 บาท เกิดขึ้น
การทำสัญญาครั้งนั้น มีมูลค่า 60,000,000 บาท แต่สนธิ ในนามของไทยเดย์ดอทคอม หรือ 11 News 1 ประสบปัญหาสะดุดขาตัวเอง จนต้องปิดตัวลง
แม้จะเคยให้การสนับสนุมากมายขนาดนี้ แต่ปตท.ก็ไม่เคยได้สิทธิพิเศษใดๆ จากสนธิ และเครือผู้จัดการแม้แต่ครั้งเดียว หากจะมีก็แต่ได้รับเชิญขึ้นเวทีเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ค่อนข้างบ่อยครั้ง ในฐานะจำเลยของสังคม ในฐานะบริษัทมหาชนที่หลอกต้มคนไทย ให้ซื้อน้ำมันแพง หลอกต้มคนไทยผู้ถือหุ้นรายย่อย ให้เสียประโยชน์ หลอกต้มคนไทยให้เชื่อมั่นการบริหารงานเป็นธรรมาภิบาล และที่สำคัญที่สุด ก็คือ การกล่าวประณามปตท. ว่าเป็นบริษัทที่เห็นแก่การทำกำไร ไม่สนใจความเดือนร้อนของประชาชน และเห็นว่ากำไรที่เกิดขึ้นจากการบริหารของปตท. เป็นสิ่งที่ผิดพลาด และเป็นการสะท้อนให้เห็นว่า ปตท. เอาเปรียบประชาชน รัฐบาลในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่ไม่จริงใจต่อประชาชน
กล่าวโดยสรุป ก็คือ การมีกำไรจากการบริหารงานของปตท. คือ ความผิดพลาดของปตท. ในทัศนะของนักธุรกิจแบบสนธิ
ความผิดพลาดของปตท.ในสายตาของสนธิ และสื่อเครือผู้จัดการ เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อปตท. ซื้อสื่อโฆษณาในเครือผู้จัดการ น้อยลงกว่าเดิมเมื่อไม่นานมานี้เอง
เหตุที่ปตท.ลดพื้นที่โฆษณาในเครือผู้จัดการลง ก็เพราะรับไม่ได้ จากการที่ถูกนั่งด่าอยู่ทุกวัน ยิ่งซื้อน้อย ก็ยิ่งถูกด่ามาก เพราะไปทำให้สนธิผิดหวังมากขึ้นๆ
เหตุที่ปตท.ถูกด่า ถูกประณามบนเวทีเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ก็มีเหตุมาจาก เรื่องการตัดงบโฆษณาซื้อสื่อโฆษณาเครือผู้จัดการเท่านั้นเอง
เป็นเหตุเดียวกับที่พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นนายกฯที่ดีที่สุดเท่าที่ประเทศไทยเคยมีมาของสนธิ ถูกชี้หน้าประณามว่าเป็นนายกฯที่เลวร้ายที่สุดเท่าที่ประเทศไทยเคยมีมา เพียงเพราะไม่ช่วยเหลือ ไม่ใช้อำนาจ”สั่งการ” ให้ 11News 1 กลับคืนขึ้นไปอยู่บน UBC 9 อีกครั้งหนึ่ง
ตัวอย่างรายที่ 2 ของการสนับสนุนสนธิ และเครือผู้จัดการ ก็คือ
ธนาคารกรุงไทย จำกัด(มหาชน) ซื้อโฆษณาสื่อเครือผู้จัดการ เฉพาะรายการโทรทัศน์ 2 รายการ คือ เมืองไทยรายสัปดาห์ กับพบคนพบธรรม ซึ่งออกอากาศทางช่อง 9 ทั้ง 2 รายการ ตั้งแต่ปี 2544-2548 ธนาคารกรุงไทย ใช้เงินซื้อสื่อในเครือผู้จัดการ มากถึง 276,000,000 บาท ปีละ 77,000,000 บาท หรือเฉลี่ยเดือนละ 6,420,000 บาท
ยังไม่นับถึงพื้นที่โฆษณาในหน้าหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ ทั้งรายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือน รวมไปถึงเวบไซต์ manager.co.th ที่ลงกันอย่างถี่ยิบ ตามเงื่อนไขการปรับโครงสร้างหนี้ ที่กำหนดให้เดอะแมเนเจอร์มีเดียกรุ๊ป จำกัด ชำระหนี้ด้วยการใช้หน้าหนังสือพิมพ์แทนเงินสด ซึ่งถือว่าเป็นสิทธิพิเศษของลูกหนี้ที่ไม่ธรราดา อย่างสนธิ และเดอะแมเนเจอร์มีเดียกรุ๊ป จำกัด ที่วิโรจน์ นวลแข อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงไทย ซึ่งมีความสนิทสนมแนบแน่น และช่วยเหลือเกื้อกูลกันมาตลอดกับสนธิ เอื้อเฟื้อจัดให้ชนิดที่ลูกหนี้รายอื่น ได้แต่มอง แต่ไม่มีความสามารถจะทำตามได้
ความเป็น”ลูกหนี้รายพิเศษ” ที่ได้รับเงื่อนไขการชำระหนี้”พิเศษ” แบบนี้เป็นเหตุที่ทำให้ สนธิ กับวิโรจน์ มีความสัมพันธ์กันแน่นแฟ้นลึกซึ้งยิ่งนัก จนถึงขนาดที่ว่า เมื่อวันที่วิโรจน์ ไม่ได้รับการต่ออายุให้นั่งตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารกรุงไทย วาระที่ 2 คนที่เจ็บแค้นยิ่งกว่าวิโรจน์ เสียอีก ก็คือ สนธิลิ้มทองกุล
นับแต่นั้นมา ม.ร.ว.ปรีดียาธร เทวกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ถูกขึ้นบัญชีแค้นรอชำระของสนธิ เพิ่มขึ้นอีก 1 ชื่อ ด้วยเหตุที่สนธิ แน่ใจว่า ม.ร.ว.ปรีดิยาธร คือ คีย์แมนสำคัญในการขวางทางการนั่งเก้าอี้ กรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคากรุงไทย วาระที่ 2 ของวิโรจน์ ซึ่งนั่นหมายความว่า ความพิเศษที่สนธิเคยได้รับ ย่อมไม่มีความแน่นอนอีกต่อไป ทั้งในฐานะลูกหนี้ และในฐานะคู่ค้า
ในฐานะลูกหนี้ ที่ไม่ต้องชดใช้หนี้ด้วยเงินสด แต่สามารถชดใช้ด้วยกระดาษหน้าหนังสือพิมพ์ ซึ่งตีราคากันไว้ที่หน้าละ 286,600 บาท เดือนละ 12 หน้า สำหรับผู้จัดการรายเดือน ก็คิดเป็นเงิน 3,432,000 บาท หากคิดเป็นปี ก็เท่ากับ 41,184,000 บาท 10 ปีผ่านไป ก็เท่ากับ 410,184,000 บาท
หากใช้วิธีการกันแบบนี้ ไม่นานนัก หนี้จำนวนมหาศาลของผู้จัดการ ก็จะหมดลงได้ ยังพอเห็นแสงเทียนที่ปลายอุโมงค์
นี่ยังไม่นับสื่ออื่นๆ อีก เช่น ผู้จัดการรายสัปดาห์ ผู้จัดการรายเดือน และเวบไซต์ ที่ก็มีเงื่อนไขการชดใช้หนี้ด้วยหน้ากระดาษ เช่นเดียวกัน
ดังนั้น หากจะมีใครสักคนที่เสกกระดาษเป็นเงิน ได้จริงๆ คนคนนั้น ย่อมชื่อ สนธิ ลิ้มทองกุล
ด้วยเงื่อนไขที่พิเศษนี้เอง ที่ทำให้สนธิ เป็นเดือดเป็นร้อนแทน วิโรจน์ นวลแข และโกรธแค้นผู้ว่าแบงก์ชาติ โกรธแค้นนายกรัฐมนตรี ที่ไม่สนับสนุนคนที่สนธิ สนับสนุน
การหวนคืนสู่วงการธุรกิจสื่อในประเทศ ของสนธิ ในรอบนี้ สนธิ ในฐานะผู้ประกอบการที่มี”หนี้เน่า” จำนวนมากที่สุดในอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ ที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ ได้รับสิทธิพิเศษมากกว่าผู้ประกอบการรายอื่นๆ แกละลูกหนี้รายอื่นๆ ด้วยแต้มต่อที่เรียกว่า แฮร์คัทหนี้ หรือการลดหนี้ที่ตัวเองก่อไว้มากกว่า 6,000 ล้านบาท
หนี้จำนวน 6,000 ล้านบาท ที่สนธิ ได้รับประโยชน์ไปนี้ เป็นเงินที่รัฐบาลต้องใช้เงินภาษีจากของประชาชนมาชดใช้แทน ทั้งๆ ที่ไม่ได้ร่วมก่อหนี้แม้แต่สลึงเดียว การแฮร์คัทหนี้ หรือลดหนี้ในครั้งนั้น เป็นที่มาของข้อกล่าวหาว่าสนธิ ได้รับการปฏิบัติจากธนาคารเจ้าหนี้ ซึ่งเป็นธนาคารรัฐบาล ในมาตรฐานที่พิเศษกว่าลูกหนี้ทุกราย
และ.....ธนาคารรัฐบาลที่เป็นผู้นำในการแฮร์คัทหนี้จำนวนนี้ให้แก่สนธิ ก็ไม่ใช่ธนาคารใดไหนเลย ก็คือ ธนาคารกรุงไทย ที่อยู่ภายใต้การกำกับของวิโรจน์ นวลแข นั่นเอง
การได้รับแต้มต่อจำนวนนี้ ทำให้สนธิ มีพลังใจอย่างยิ่งที่ทำให้เขากลับคืนสู่ธุรกิจสื่อสารมวลชนอีกครั้งหนึ่ง เพราะเป็นการยืนยันถึงความเป็นคนพิเศษของเขาที่ยังหาประโยชน์ได้ในประเทศไทย ซึ่งไม่สามารถหาได้จากสนามธุรกิจใดๆ ในโลกนี้ นอกจากนี้ ผู้คนบริวารล้อมของเขาในอดีต ยังได้ดิบได้ดี ไปกุมอำนาจด้านเศรษฐกิจในรัฐบาลไว้เกือบหมด จึงเป็นแต้มต่ออีกชั้นหนึ่งที่ได้เปรียบทุกๆ คน บนเวทีการแข่งขันรอบใหม่นี้
การกลับมารอบใหม่ครั้งนี้ สนธิพุ่งเป้าไปที่ธุรกิจโทรทัศน์เป็นสำคัญ เขาวางยุทธศาสตร์ให้สื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อ เพื่อชดใช้หนี้ และสื่อโทรทัศน์เป็นสื่อเพื่อการหารายได้ เนื่องจากเวลาโฆษณาบนสถานีโทรทัศน์ มีราคาสูงกว่าราคาหน้ากระดาษมาก
เห็นได้จากการที่ ธนาคารกรุงไทย ซื้อเวลาโฆษณารายการเมืองไทยรายสัปดาห์ ด้วยงบประมาณ ปีละ 38,520,000 บาท หากทอนออกมาเป็น 52 สัปดาห์ ก็เท่ากับว่ารายการเมืองไทยรายสัปดาห์ มีรายได้จากธนาคารกรุงไทย เพียงรายเดียวมากถึง 740,769 บาทต่อการจัดรายการ 1 ครั้ง ทั้ง ๆ ที่มีเวลาจัดรายการเพียง 1 ชั่วโมงเท่านั้น
นี่ยังไม่นับรวมถึงรายได้จากผู้สนับสนุนรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ รายอื่นๆ อีก
ไม่แปลกใจเลย หากสนธิ จะคิดต่อยอดในฐานะนักธุรกิจผู้มากวิสัยทัศน์ว่า การมีเวลาเพียง 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เขายังทำรายได้มากยายขนาดนี้ หากเขาเป็นเจ้าของสถานีโทรทัศน์เสียเอง จะมีรายได้มากมายก่ายกองขนาดไหน แต่ในเมื่อยังยังไม่ได้เป็นเจ้าของสถานี ก็ขอให้ตัวเองมีโอกาสออก”จอ”ไว้ก่อน เพื่อรักษาเรตติ้งของตัวเอง จนวันที่พร้อมตั้งสถานีโทรทัศน์ของตัวเอง ก็น่าจะเป็นประโยชน์สูงสุดสำหรับสนธิ ในสถานการณ์ยามนี้
หากมองย้อนกลับไปในวันที่ยังมีรายการเมืองไทยรายวัน ซึ่งจัดสัปดาห์ละ 5 วัน แล้วก็จะยิ่งเห็นเม็ดเงินจำนวนมหาศาล ที่ออกจากกระเป๋ารัฐวิสาหกิจอย่างธนาคารกรุงไทย และรัฐวิสาหกิจอื่นๆ ที่มีน้ำใจให้กับสนธิในยามนั้น หลั่งไหลเข้าไปในกระเป๋าของสนธิ ว่ามากน้อยเพียงใด คิดกันง่ายๆ ก็ต้องคูณ 5 เข้าไปของรายได้ที่ได้จากรายการเมืองไทยรายสัปดาห์
การปรับผังรายการของช่อง 9 และเปลี่ยนจากเมืองไทยรายวัน เป็นเมืองไทยรายสัปดาห์ เป็นการหย่อนเมล็ดพันธ์ความแค้นไว้ในใจของสนธิ โดยที่คนในอ.ส.ม.ท. ไม่รู้ตัวแม้แต่น้อย เพราะเป็นการทำงานตามหน้าที่ และทำเพื่อเรตติ้ง เพื่อที่จะปรับแต่งตัวเองสำหรับการเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แต่สำหรับสนธิเขาเก็บคิดเรื่อยมาว่าเป็นการกลั่นแกล้ง และตัดรายได้ แต่ไม่ได้แสดงออกมาให้ใครเห็น จนถึงวันที่เมืองไทยรายสัปดาห์ถูกถอดออกจากผังรายการของช่อง 9 เพราะความไม่เหมาะสมของเนื้อหาที่สนธิ นำเสนอนั่นเอง จึงทำให้ทุกคนได้เห็นอาการโกรธแค้นของสนธิ ที่ต้องสิ้นสุด หมดหนทางทำมาหารายได้ ในช่วง 9 อีกต่อไป
11 News 1 ก็เดินหน้าต่อไม่ได้ เมืองไทยรายสัปดาห์ก็ถูกถอดออกจากช่อง 9 ธุรกิจโทรทัศน์ที่ตั้งใจหวังไว้ ต้องล่มสลายลงทันที เส้นทางการหารายได้เพื่อความมั่งคั่งให้กับตนเอง ที่เคยเปิดโล่ง กลายเป็นตีบตันจนถึงอุดตันในที่สุด ทำให้เก็บอาการไว้ไม่อยู่
นี่จึงเป็นเหตุผลที่ทำให้สนธิ จึงต้องเดือดร้อน ต้องดิ้นรน ต้องโกรธแค้น เมื่อถูกตัดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ เพราะรายได้สัปดาห์ละกว่า 1,000,000 บาท(ประมาณการ จากการขายโฆษณา 10 นาที ต่อการจัดรายการ 1 ครั้ง)ต้องมลายหายไปในพริบตา และตัดสินใจเปิดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรขึ้น โดยอาศัยเสื้อ”เราจะสู้เพื่อในหลวง” มาเป็นเครื่องหมายการค้าของตนเอง และหารายได้จากการขายเสื้อ ขาย ซีดี ขายหนังสือเมืองไทยรายสัปดาห์แทน
2 ตัวอย่างที่นำเสนอมานี้ คงพอที่จะทำให้เห็นภาพแล้วว่า สนธิ ได้รับสิทธิพิเศษเพียงใด จากการทำธุรกิจโทรทัศน์ และในวันที่เขาได้รับสิทธิพิเศษ เขาปกป้องรัฐบาลอย่างไร แต่ในวันที่สิทธิพิเศษที่เคยได้ถูกตัด เขามีอาการเช่นไร และแสดงอาคารอย่างไร ต่อ”ทุน”ที่เขาเคยรับใช้ และแสวงหาประโยชน์จากการเป็น”ผู้รับใช้” ในอดีต เมื่อ”ทุน” เหล่านั้นไม่เห็นเขาอยู่ในสายตา
 
(1) คุณสนธิและผู้บริหารของกลุ่มผู้จัดการ บริหารบริษัทเมเนเจอร์ มีเดีย ซึ่งเป็นของมหาชน ด้วยความโปร่งใสหรือไม่ มีการยักยอกเงินเข้ากระเป๋าส่วนตัวของใครหรือเปล่า
 
กรณีที่ 1 หมู่เกาะ The British Virgin Island ที่คุณสนธิออกมาด่านายกทักษิณปาวๆ คุณสนธิยังจำได้ไหมว่า ใครไปจดทะเบียนบริษัท Manager International Holding Company Limited ที่หมู่เกาะนี้ ด้วยเงินเพียงแค่ 1,000 เหรียญสหรัฐ แต่กลับนำมาขายให้ บริษัท เมเนเจอร์ มีเดีย (มหาชน) ซึ่งเป็นของผู้ถือหุ้นทุกคน ด้วยเงินถึง 7,228,000 เหรียญสหรัฐ เงินกำไรร่วม 200 ล้านบาทนี้ หายไปอยู่กระเป๋าใคร นอกจากนั้นเงินที่ บริษัทเมเนเจอร์ให้บริษัทนี้ยืมไปอีก 700 ล้านบาท หายไปไหน (ข้อมูลนี้เป็นข้อมูลที่กลุ่มผู้จัดการ ทำรายงานเองและส่งให้ตลาดหลักทรัพย์เอง ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2547 สามารถหาอ่านเพิ่มเติมได้ที่ตลาดหลักทรัพย์)
 
กรณีที่ 2 เงินโฆษณากว่า 100 ล้านบาท ซึ่งควรเป็นของผู้ถือหุ้นทุกคน หายไปไหน เมื่อไหร่จะได้คืน ทำไมมีการเปิดบริษัทส่วนตัว ที่ชื่อ เวิลด์ไวด์ มีเดีย ซึ่งก็ตั้งอยู่บนถนนพระอาทิตย์ เพื่อรับเงินค่าโฆษณาแทนบริษัทมหาชน และทำไมบริษัทนี้ถึงอมเงินเอาไว้ และไม่ยอมจ่ายเงินคืนให้บริษัทซึ่งเป็นของมหาชนสักที ทั้งที่รับเงินมา 2-3 ปีแล้ว ที่น่าสงสัยยิ่งกว่านั้น ทำไมบริษัท เมเนเจอร์ มีเดีย (มหาชน) ถึงยังให้บริษัทนี้ หาโฆษณาและรับเงินแทนอยู่ ทั้งๆที่ก็รู้ว่าบริษัทนี้เบี้ยวเงินมาเป็นปีแล้ว นอกจากนั้น ทำไมบริษัทเมเนเจอร์ มีเดียถึงนับยอดรายได้โฆษณาที่น่าจะได้จากบริษัทเวิลด์ไวด์ มีเดียนี้เป็นหนี้สงสัยจะสูญในทันที จนมีผลทำให้ผลประกอบรวมของบริษัทเมเนเจอร์ มีเดียเองซึ่งควรจะเป็นกำไร กลายเป็นขาดทุน นี่เป็นสาเหตุหรือเปล่า ที่ทำให้ผู้ตรวจสอบบัญชีที่บริษัท เมเนเจอร์ มีเดียจ้างเอง ไม่ยอมเซ็นไว้วางใจบริษัทเมเนเจอร์ มีเดียหลายไตรมาสติดต่อกันแล้ว (จากข้อมูลที่กลุ่มผู้จัดการ ทำส่งให้ตลาดหลักทรัพย์เอง ระหว่างปี 2547 - 2549)
 
***(2) คุณสนธิและกลุ่มผู้จัดการ ใช้ความเป็นสื่อ บังคับและเบียดบังผลประโยชน์ของรัฐ เข้าตัวหรือเปล่า หลังจากที่คุณเจิมศักดิ์ และกลุ่มเนชั่นออกมาปูดข่าวว่า รัฐบาลทักษิณช่วยลดหนี้ของกลุ่มผู้จัดการ จาก 20,000 ล้านบาท เหลือแค่ 6,000 ล้านบาท ในปี 2545แล้ว คุณสนธิและกลุ่มผู้จัดการได้รับการลดหนี้จากสถาบันการเงินของรัฐ อีกกี่ครั้ง (เพื่อความเป็นธรรมในการรับรู้ข้อมูล คุณสนธิ ออกมาปฏิเสธว่ากลุ่มผู้จัดการ มีหนี้อยู่ ในขณะนั้น 8,000 กว่าล้านบาท ไม่ใช่ 20,000 ล้านบาทตามที่คุณเจิมศักดิ์กล่าวหา) ทำไมขณะที่คุณวิโรจน์ นวลแขทำงานที่แบงก์xxx คุณสนธิถึงได้รับการลดหนี้ที่เคยลดมาแล้วอีก จาก 1,421.73 ล้านบาท เหลือเพียงแค่ 259 ล้านบาท แล้วยิ่งกว่านั้น ทำไมธนาคารxxx ถึงขนาดยอมให้คุณสนธิไม่ต้องจ่ายคืนเป็นเงินสด โดยยอมกระทั่งให้ใช้คืนเป็นค่าโฆษณาราคาแพง จนเราได้เห็นโฆษณาชุดผู้ใหญ่ลี ที่มีค่าแอร์ไทม์ครั้งละหลายแสนบาท อย่างถี่ยิบ คุณสนธิคิดว่า ธนาคารของรัฐอย่างxxxมีความจำเป็นต้องโฆษณาตัวเองกับสื่อของคุณสนธิแค่ที่เดียว เป็นร้อยๆล้านบาทเลยหรือ (จากข้อมูลที่กลุ่มผู้จัดการ ทำส่งให้ตลาดหลักทรัพย์เอง ในปี 2547 ดูข้อมูลได้ที่ตลาดหลักทรัพย์) นอกจากนั้นแล้ว คุณสนธิใช้วิธีไหน ถึงทำให้รัฐวิสาหกิจอื่นของรัฐอย่างเช่น การบินไทย ปตท และบริษัทเอกชนในเครือชินวัตรลงโฆษณาจำนวนมากกับสื่อของผู้จัดการ จนยอดรายได้โฆษณาของกลุ่มพุ่งขึ้นถึงกว่า 40% หลังจากที่นายกทักษิณ เข้ามาบริหารประเทศ (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ จากกรณีศึกษาของกลุ่มผู้จัดการ ในรายงานสถานการณ์ด้านสิทธิเสรีภาพสื่อมวลชนในรอบปี 2546 ของสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย โดย ผศ. ดร.วิลาสินี พิพิธกุล คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
 
***(3) การที่คุณสนธิออกมาปลุกระดมมวลชนตอนนี้ แบบถอยหลังไม่ได้ เป็นเพราะกลุ่มผู้จัดการกำลังเกิดวิกฤติทางการเงิน ซึ่งถ้าไม่ได้อำนาจรัฐหรือกลุ่มทุนเข้าช่วยเหลือ อาจถึงขั้นปิดตัวเองเลยใช่หรือเปล่า อะไรที่ทำให้คุณสนธิ อุทานว่า ตายเป็นตาย เจ๊งเป็นเจ๊ง ประเด็นนี้ต้องศึกษาเงื่อนเวลาอยู่ 2 จุด
 
ก) ก.ล.ต. ได้ออกกฏมานานแล้วว่า จะถอดถอนบริษัทซึ่งอยู่ในหมวดฟื้นฟูของตลาดหลักทรัพย์ และมีตู๊ดส่วนของผู้ถือหุ้นติดลบ ออกจากตลาดหลักทรัพย์ ภายในเดือนมีนาคม 2549
 
ข) ศาลล้มละลายกลาง ได้ยินยอมขยายเวลาแผนฟื้นฟูของบริษัทเมเนเจอร์มีเดียออกไปจากเดิมสิ้นสุดวันที่ 26 กรกฏาคม 2548 กลายเป็นสิ้นสุดวันที่ 3 สิงหาคม 2549 เพื่อให้บริษํทเมเนเจอร์มีเดีย หาผู้ร่วมทุนใหม่มูลค่า 350 ล้านบาทให้ได้ทันตามกำหนด ซึ่งถ้านำมาเรียงดู จะอ่านได้ง่ายๆดังนี้ ถ้ากลุ่มผู้จัดการหาเงินเพิ่มทุน 350 ล้านบาทไม่ได้ภายในเดือนมีนาคม หรือไม่มีอำนาจจากไหนมาบีบ กลต ให้เปลี่ยนแปลงหรือผ่อนผันกฏ บริษํทเมเนเจอร์มีเดีย มีสิทธิจะโดนถอดออกจากตลาดหลักทรัพย์เดือนหน้า! และถ้ายังไม่ได้เงินก่อนเดือนสิงหาคม และศาลไม่ยินยอมให้ขยายเวลาแผนฟื้นฟูบริษัทอีก บริษัทเมเนเจอร์ก็อาจจะต้องปิดตัวเองลง ภายในปีนี้! คำถามก็คือ ถ้าสมมติว่า เมื่อต้นปีที่แล้ว มีกัลยาณมิตรยอมช่วยคุณสนธิ ตอนนี้คุณสนธิจะวาดภาพให้ประชาชนมองนายกทักษิณเป็นคนชั่วร้ายที่สุด หรือเป็นนายกรัฐมนตรีที่ดีที่สุดของประเทศไทย คุณสนธิจะหานักลงทุนปกติที่ไหน มาช่วยลงทุนเงิน 350 ล้านบาท กับบริษัทที่มีหนี้มากกว่าสินทรัพย์ 200 กว่าล้านบาท แถมยังขาดทุนสะสมเพิ่มตลอด และผู้ตรวจสอบบัญชียังไม่รับรองความโปร่งใสอีก ทำไมเงินกว่าร้อยล้านบาท ที่อยู่ในบริษัทเวิลด์ไวด์มีเดีย ไม่ถูกนำมาใช้ประโยชน์ หรือจ่ายคืนให้บริษํทเมเนเจอร์มีเดีย ซึ่งจะทำให้ฐานะการเงินของบริษัทเมเนเจอร์ดีขึ้นเยอะ และต้องการเงินเพิ่มทุนอีกเพียงแค่ร้อยกว่าล้าน ก็จะมีตู๊ดส่วนผู้ถือหุ้นเป็นบวกแล้ว ตลอดปีที่ผ่านมา คุณสนธิได้ขอร้องให้ใครมาช่วยบ้าง มีใครยอมช่วย และไม่ยอมช่วยบ้าง และคุณสนธิคิดยังไงกับคนที่ไม่ยอมช่วย ถ้านายกทักษิณไม่ช่วย คุณสนธิก็ต้องหาใครคนอื่น ที่ช่วยคุณสนธิได้ใช่หรือเปล่า
 
***(4) ถ้ากลุ่มผู้จัดการถูกถอดออกจากตลาดหลักทรัพย์ และไม่ผ่านเกณท์การฟื้นฟูบริษัทในกลางปีนี้ จนอาจถูกเจ้าหนี้บังคับให้ปิดตัวเองลง คุณสนธิ จะปลุกระดมคนว่า รัฐบาลคุกคามสื่อหรือเปล่า เมื่อไหร่คุณสนธิถึงจะหยุด หรือประเทศจะแตกแยกกันอีกเท่าไหร่คุณสนธิก็ไม่สนใจ ขอเพียงธุรกิจของคุณสนธิยังอยู่ได้ แค่นั้นเองหรือ ถ้าคุณสนธิตอบได้ทุกประเด็น และทุกคำถามย่อย คุณสนธิถึงจะเคลียร์ตัวเองได้ว่า การปลุกระดมคนครั้งนี้ ไม่ได้ทำเพื่อตัวคุณสนธิเอง โดยหลอกใช้ประชาชนนับแสนเป็นเครื่องมือ
 
 
หนังสือชี้แจงจากอสมท. กรณีการระงับการออกอากาศรายการ "เมืองไทยรายสัปดาห์"
 
"ตามที่บริษัท ไทยเดย์ด็อทคอม จำกัด ได้เช่าเวลาจากบริษัท อสมท. จำกัด (มหาชน) เพื่อจัดรายการ "เมืองไทยรายสัปดาห์" ออกอากาศเป็นประจำทุกวันศุกร์ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ (ช่อง 9) ระหว่างเวลาประมาณ 22.00-23.00 น. โดยมีนายสนธิ ลิ้มทองกุล และนางสาวสโรชา พรอุดมศักดิ์ เป็นผู้ดำเนินรายการนั้น
 
ตลอดเวลาที่ผ่านมาสองปี รายการเมืองไทยรายสัปดาห์ ออกอากาศเป็นรายการสด ไม่มีการบันทึกรายการไว้ล่วงหน้า หลายครั้งที่นายสนธิฯ ได้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านรายการนี้พาดพิงถึงบุคคลภายนอกในลักษณะที่เป็นการกล่าวอ้างฝ่ายเดียว ไม่เปิดโอกาสให้ผู้ได้รับผลกระทบได้กล่าวหรือชี้แจงแต่อย่างใด ทำให้เกิดข้อโต้แย้ง รวมทั้งเป็นข้อพิพาท เป็นคดีความในชั้นพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ และศาลยุติธรรมมาแล้วหลายคดี ทั้งนี้ บมจ.อสมท. ได้เคยตักเตือนและได้ขอร้องทั้งด้วยวาจาและด้วยหนังสือหลายครั้ง เพื่อให้นายสนธิฯมีความระมัดระวังในการดำเนินรายการ และไม่ล่วงละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อื่นอันเป็นความรับผิดชอบพื้นฐานของสื่อมวลชนโดยทั่วไป
 
ในช่วงเวลาประมาณหนึ่งเดือนที่ผ่านมา นายสนธิฯ ได้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์โดยกล่าวอ้างถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสถาบันพระมหากษัตริย์บ่อยครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ครั้งล่าสุด เมื่อคืนวันศุกร์ที่ 9 กันยายน 2548 ตลอดเวลาของรายการยาวนานเกือบหนึ่งชั่วโมง นายสนธิฯ ได้กล่าวถึงการแต่งตั้งรักษาการสมเด็จพระสังฆราช ว่าเป็นการละเมิดหรือขัดพระราชอำนาจ ทั้งยังนำบทความซึ่งไม่ปรากฏชื่อผู้เขียนเรื่อง พ่อของแผ่นดิน มาอ่านในรายการ มีเนื้อความบางช่วงพาดพิงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในหมู่ประชาชนได้
โดยที่ตระหนักและคำนึงว่า การดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดเกี่ยวกับกรณีข้างต้นนี้ เป็นเรื่องที่มีความละเอียดอ่อน และมีผลกระทบต่อสถาบันอันเป็นที่เคารพสูงสุดของประชาชนชาวไทย บมจ.อสมท. ไม่อาจนิ่งนอนใจได้ต่อไป ประธานกรรมการ (นายเรวัต ฉ่ำเฉลิม) และกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ) จึงได้ขออนุญาตเข้าพบ ราชเลขาธิการ (นายอาสา สารสิน) ในวันอังคารที่ 13 กันยายน 2548 ที่ผ่านมา ระหว่างเวลา 09.00 - 10.15 น. โดยมีรองราชเลขาธิการ (นายสนอง บูรณะ) และเลขาธิการคณะองคมนตรี (นายอินทร์จันทร์ บุราพันธ์) ร่วมอยู่ด้วย จากการเข้าพบดังกล่าวได้รับการยืนยันว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือสำนักราชเลขาธิการ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือมอบหมายให้นายสนธิฯ หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใด ไปกล่าวอ้างถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยปริยายแต่ประการใดทั้งสิ้น
บมจ.อสมท. ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของวงการสื่อมวลชน ตระหนักดีและเห็นความสำคัญของสิทธิเสรีภาพสื่อมวลชนในระบอบประชาธิปไตยเป็นอย่างยิ่ง ขณะเดียวกันก็เชื่อมั่นว่า สิทธิเสรีภาพในระบอบประชาธิปไตยนั้น ต้องอยู่เคียงคู่กับความรับผิดชอบ ในความถูกต้อง และความเหมาะควรของข่าวสารที่นำเสนอต่อประชาชนด้วย สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพสักการะและเทิดทูนของประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า การกล่าวอ้างพาดพิงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ พึงกระทำด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ เพราะสถาบันพระมหากษัตริย์ไม่อยู่ในฐานะที่จะชี้แจงหรือตอบโต้ความเข้าใจผิดได้ในทุกกรณี บมจ.อสมท. ในฐานะที่เป็นสื่อมวลชนและในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของประชาชนชาวไทยจึงสำนึกว่าเป็นหน้าที่ของ บมจ.อสมท.ที่จะต้องตัดสินใจอย่างหนึ่งอย่างใดเกี่ยวกับรายการเมืองไทยรายสัปดาห์
ดังนั้นด้วยการพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบในทุกแง่มุม บมจ.อสมท. จึงขอระงับสัญญาเช่าเวลาเพื่อจัดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์กับ บริษัท ไทยเดย์ดอทคอม จำกัด ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป และขอแถลงข่าวนี้มาเพื่อกรุณาทราบโดยทั่วกัน หากมีความจำเป็น บมจ.อสมท. จะได้ชี้แจงให้สาธารณชนทราบข้อมูลข่าวสารต่อไปตามที่เป็นการสมควร"
 
 
สนธิบังอาจหมิ่นเบื้องสูง
 
ถ้าสนธิและจำลองรักชาติจริง ขอเรียกร้องให้มาช่วยกู้ชาติที่นราธิวาสด่วน
 
ถ้าสนธิไม่มีธุรกิจ หรือเป็นบุคคลธรรมดา และต่อต้านจากหลักความคิดอันเป็นเนื้อแท้ของรัฐศาสตร์ ผมจะเชื่อมากกว่านี้ แต่จุดเริ่มต้นของสนธิมาจากธุรกิจของสนธิเอง และเป็นธุรกิจสื่อเสียด้วย เป็นอะไรที่มีอิทธิพลมากสำหรับการเรียกร้องและหาเสียงสนับสนุน แต่เมื่อมีเสียงห้ามปรามจากรัฐ ก็จะอ้างว่าถูกคุกคามทั้งที่อิสระมากจนเกินขอบเขตของสื่อจนขาดแม้จรรยาบรรณ เอาจุดตรงนี้แหละมาเป็นเครื่องมืออย่างดีของสนธิ จับประเด็นตั้งแต่แรกหลายอย่างที่สนธิพยายามพูดเกินจริงเห็นได้ชัด
 
ได้ดูและได้ฟังคำพูดของอ้ายสนธิแล้ว อุบาทร์มากๆ พูดมาได้อย่างไรว่าจะให้ พ่อหลวงลาออก นี่มันเลวจริงๆ จาบจ้วงแม้กระทั่งสิ่งที่ประชาชนเคารพเทิดทูล
 
นายสนธิ ก็ไม่ใช่คนดี คนดีเขาไม่ทำให้ประเทศเดือดร้อน ขนาดเอาเรื่องของไทยไปให้สัมภาษณ์ที่ประเทศจีน ก็ถือว่าไม่เหลือความเป็นไทยแล้ว ลูกๆเขาก็เหมือนกัน เห็นดำเนินตามรอยเท้านายสนธิ ในประเทศไทย กฏหมาย ศาล ตำรวจ ทหาร นายสนธิเขาไม่กลัวทั้งนั้น คนนี้โอหังมากไปแล้ว
 
นายสนธิ ไม่กลัวใครหรอก ไม่มีใครกล้าทำอะไรเขาได้ เพราะเขาสามารถไล่ทักษิณได้ ขนาดทักษิณป็นถึงนายก เขายังไล่ออกได้ ทั้งแผ่นดินไทย นายสนธิไม่กลัวใคร เบื้องบนนายสนธิก็ด่าได้ ดูหมิ่นได้ จาบจ้วงได้ เยาะเย้ย ถากถางได้ ใครอย่าบังอาจไปสู้กับนายสนธิ คนนี้เขาเก่งที่สุดในแผ่นดินไทย สนธิ จะบังอาจใช้ถ้อยคำอย่างนั้น และไม่คิดว่าจะมีประชาชนคนไทยคนไหนในประเทศนี้ จะมีความคิดดังคำพูดของคุณสนธิ อยากให้ภาพและเสียงดังกล่าวเผยแพร่ผ่านสื่อโทรทัศน์เพื่อจะได้ทราบถึงพฤติกรรมของคุณสนธิ ผมไม่ชอบคุณสนธิ และไม่ชอบตลอดไป เพราะคุณทำร้ายจิตใจคนไทยทุกๆคนครับ
 
สนธิใหญ่โตเหลือเกิน หมิ่นเบื้องสูงแล้วยังพูดจาใหญ่โตไม่เกรงคุกตะรางอีก
 
ต้องพิจารณาดูก่อนว่าเจตนรมย์ของ รธน.มาตรา 44 ที่ว่าเป็นการชุมนุนโดยสงบคืออะไร คงมิใช่ออกไปสร้างความวุ่นวายแก่การจราจร หรือไปปิดกั้นเสรีภาพ ทางเข้าออกของบุคคลอื่น เพราะ รธน.เป็นกฎหมายสูงสุดก็จริง แต่ไม่มีบทกำหนดโทษเอาไว้ จึงต้องพิจารณากฎหมายเฉพาะเรื่อง เช่น ป.อาญา พรบ.จราจรเป็นต้น
หากเปรียบเทียบการชุมนุมระหว่างพันธมิตร กับคนจน จะเห็นว่าทั้งสองกลุมมีสิทธิในเนื่อหา แต่ต่างกันในสาระสำคัญ กล่างคือพันธมิตร มีวัถตุประสงค์เพื่อไม่ให้มีการเลือกตั้ง กดดันให้นายยกรัฐมนตรีลาออกเพื่อจะได่มี รบ.พระราชทาน การกดดันจึงต้องไปปิดห้างซึ่งเป็นกิจการของเอกชน ไปปิด กกต.เพื่อให้ประกาศยกเลิกการเลือกตั้ง หรือให้ กกต. ลาออกไปเลย
เมื่อ ปอ.มาตรา 116 กำหนดว่าผู้ใดกระทำให้ปรากฎแก่ประชาชนด้วยวาจา(ออกไป ด่า โฮ ฮาป่า เขียนแผ่นผ้า ด่าระบบ ระบอบ ) อันมิใช่เป็นการตามครรลองประชาธิปไตย เพื่อ(อันนี้คือเจตนาพิเศษประกอบการกระทำ) ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกฎหมายแผ่นดินหรือรัฐบาล ซึ่งตอนแรกพันธมิตรก็อ้างว่าถวายคืนพระราชอำนาจ โดยบังอะไรบ้างอย่างไว้ คงทราบกฎหมายข้อนี้ดี เมื่อมีผู้เข้าร่วมมากขึ้น จึงมีการกำหนดรูปแบบสุ้เพื่อกลุ่มผลประโยชน์ของตนเอง โดยไม่ฟังเสียงที่แท้จริงของ ประชาชน ดังนี้การออกไปปิดถนน โดยเจตนาทราบว่าห้างจะเดือดร้อน โดยจะส่งผลให้รัฐบาลต้องเดือดร้อน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในบ้านเมือง ตามที่กลุ่มตนเรียกร้อง จึงเข้าองค์ประกอบมาตรา 116 แล้ว ส่วนรัฐจะดำเนินคดีหรือไม่ ก็แล้วแต่ นโยบายแห่งรัฐ เพราะแค่เดือนร้อนกันนิดหน่อย ต่างจากกรณีแทนทาลั่มที่มีการเผาจวนผู้ว่า ซึ่งถูกดำเนินคดีข้อหาเดียวกัน ส่วนกรณีท่านสนธิกล่าวพาดพิงเบื้องสูง ตอนนี้ประชาชนทั่วไปได้ทราบ ได้ฟังคำพูดแล้ว เห็นว่าตรงกันที่ นสพ.ลงข่าว ไม่มีการตัดต่อใดๆ ส่วนนี้เป็นความผิดโดยไม่ต้องอาศัยเจตนาพิเศษ ท่านสนธิอย่างดื้อเลย ลูกผู้ชายกล้าทำต้องกล้ารับ ดูท่านวีระเป็นตัวอย่าง เป็นคดีปี 2531 คำพูดยังไม่ชัดเท่าท่านสนธิเลย
 
หนี้เน่าสนธิไม่ยอมจ่าย
 
นายสนธิ ลิ้มทองกุล เป็นหนี้ 6,687 ล้านบาท
หนี้เน่าที่ สนธิสร้างและจะไม่ยอมจ่าย
 
กู้เงินกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการกว่า 300 ล้านบาท
 
ธนาคารกรุงไทย 495,080,556.13 ล้านบาท
 
ธนาคารกสิกรไทย 30,791,780.82 ล้านบาท
 
ธนาคารเอเซีย 741,728,446.00 ล้านบาท
 
ธนาคารกรุงไทย 900,978,279.31 ล้านบาท
 
ธนาคารไทยธนาคาร 431,419,178.07 ล้านบาท
 
ธนาคารดีเอสบี (ไทยทนุ) 64,621,463.90 ล้านบาท
 
กฟผ. 63 ล้านบาท
 
และอีกหลาย ๆ ธนาคาร บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ต่าง ๆ อีกมากมาย
 
ให้ไปอ่านที่ นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์ จะได้ทราบว่ามันโกงทั้งประเทศไทย และทั้งโลกด้วย
 
นายสนธิ มาขอต่อรองลดหนี้ เมื่อไม่ได้จึงไม่ชอบรัฐบาล
ถ้ามันไล่ทักษินออกได้หนี้มันจะได้ลด
 
สถาบันการเงินหรือธนาคารใด ไม่ให้สนธิกู้ สนธิก็จะใส่ความว่า เป็นธนาคารในเครือ
ของสิงคโปร แล้วก็จะเอาม๊อบอันธพาลไปก่อกวน
 
กลุ่มก้วนโดดเข้ามาร่วมกับสนธิ
 
นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ กู้เงิน 150,000 ล้านบาททำบริษัทปิโตรเคมีและขาดทุน จึงขอลดหนี้ให้เหลือราว 20,000 ล้านบาท ซึ่งอดีตเคยส่งเสริมพรรคประชาธิปัตย์ แต่ต่อมาเมื่อมาส่งเสริมพรรคไทยรักไทย แต่นายกรัฐมนตรีไม่ช่วย เพราะคิดว่าจะเอาเงินชาวบ้านมาช่วยคนคนเดียวกว่าแสนล้านบาท จึงไม่ช่วย จนทำให้นายประชัยโกรธ อีกคน
 
นายเอกยุทธ อัญชัญบุตร ซึ่งทำแชร์ล้มแล้วหนีไปลอนดอนกว่า 20 ปี โดยถูก พล.ต.ท.เสมอ ดามาพงศ์ พ่อตาของ พ.ต.ท.ทักษิณ ในขณะนั้นจับกุม เมื่อคดีหมดอายุความ นายเอกยุทธจึงกลับมาแก้แค้น อีกคน
 
นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ ซึ่งอดีตมหาจำลองเคยเสนอ พ.ต.ท.ทักษิณ ให้มาเป็น รมว.ต่างประเทศแทนแต่ไม่สำเร็จ คนเหล่านี้จึงมารวมกลุ่มต่อต้านรัฐบาล