ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พะยูนแมนนาที"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: lv:Lamantīni
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: sr:Ламантини; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 15:
| subdivision_ranks =[[สปีชีส์]]
| subdivision =
* แมนนาทีแอมะซอน (''Trichechus inunguis'')
* แมนนาทีอินเดียตะวันตก (''Trichechus manatus'')
*: แมนนาทีฟลอริดา<br />(''Trichechus manatus latirostris'')
*: แมนนาทีแอนทิลเลียน<br />(''Trichechus manatus manatus'')
* แมนนาทีแอฟริกาตะวันตก (''Trichechus senegalensis'')
| range_map = Mapa distribuicao Trichechus.png
| range_map_caption = ถิ่นอาศัยของแมนนาที แยกตามสปีชีส์ แมนนาทีแอมะซอน-สีแดง แมนนาทีอินเดียตะวันตก-สีเขียว และ แมนนาทีแอฟริกาตะวันตก-สีส้ม
บรรทัด 29:
แมนนาทีชนิด ''Trichechus senegalensis'' (แมนนาทีแอฟริกาตะวันตก หรือ แมนนาทีเซเนกัล) อยู่อาศัยแถบชายฝั่งตะวันตกของทวีปแอฟริกา ส่วนชนิด ''T. inunguis'' (แมนนาทีแอมะซอน) อยู่อาศัยแถบชายฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาใต้ ส่วนอีกชนิดหนึ่งได้แก่ ''T. manatus'' (แมนนาทีอินเดียตะวันตก หรือ แมนนาทีแคริบเบียน) อยู่อาศัยแถบ[[หมู่เกาะอินเดียตะวันตก]]ในทะเลแคริบเบียน สำหรับแมนนาทีฟลอริดานั้น นักสัตวศาสตร์บางส่วนถือว่าได้สูญพันธุ์ไปแล้ว อย่างไรก็ตาม [[ระบบไอทีไอเอส]]จัดให้แมนนาทีฟลอริดาเป็นชนิดย่อยของ ''T. manatus'' และปัจจุบันถือเป็นที่ยอมรับทั่วไป แมนนาทีฟลอริดามีลำตัวยาว 4.5 เมตรหรือมากกว่านั้น และอยู่ได้ทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม ในอดีตแมนนาทีฟลอริดาเคยถูกล่าเพื่อเอาน้ำมันและหนัง แต่ปัจจุบันสัตว์ชนิดนี้ได้รับความคุ้มครองจากกฎหมายให้พ้นจากการถูกล่า
 
[[ภาพไฟล์:Manatee photo.jpg|thumb|left|200px|แมนนาที]]
 
แมนนาทีอินเดียตะวันตกเป็นหนึ่งในกลุ่ม[[สัตว์และพืชที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์|สัตว์ชนิดที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์]] แม้มันจะไม่มีผู้ล่าตามธรรมชาติ แต่การขยายดินแดนของมนุษย์ทำให้ที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติแถบบึงน้ำตื้นชายฝั่งของมันลดลง แมนนาทีจำนวนมากยังได้รับบาดเจ็บจากการถูกใบพัดเรือบาด อีกทั้งแมนนาทียังมักกินอุปกรณ์ตกปลาที่มนุษย์ทิ้งไว้ เช่นเบ็ดหรือตุ้มถ่วงเข้าไปบ่อย ๆ วัตถุแปลกปลอมเหล่านี้โดยมากจะไม่ทำอันตรายแก่แมนนาที ยกเว้นแต่สายเบ็ดหรือเอ็นตกปลา ซึ่งจะเข้าไปอุดตันระบบย่อยอาหารของแมนนาที และทำให้มันค่อย ๆ ตายอย่างช้า ๆ
บรรทัด 35:
แมนนาทีมักมารวมกันอยู่ใกล้โรงไฟฟ้าซึ่งน้ำในแถบนั้นจะมีอุณหภูมิสูงกว่าที่อื่น จนกระทั่งกลายเป็นการพึงพิงแหล่งน้ำอุ่นที่มนุษย์สร้างขึ้นนี้ไปในที่สุด โดยไม่ยอมอพยพไปยังแหล่งที่น้ำอุ่นกว่าเนื่องจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะให้ความร้อนตลอดทั้งปี ไม่นานมานี้ โรงไฟฟ้าหลายแห่งได้ปิดตัวลง กรมคุ้มครองสัตว์น้ำและสัตว์ป่าของสหรัฐอเมริกาซึ่งทราบถึงการพึ่งพิงแหล่งน้ำอุ่นของแมนนาที จึงได้พยายามหาหนทางที่จะเพิ่มอุณหภูมิของน้ำเพื่อช่วยแมนนาที
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[พะยูน]]
 
บรรทัด 99:
[[simple:Manatee]]
[[sk:Lamantínovité]]
[[sr:Ламантини]]
[[sv:Manater]]
[[tl:Manati]]