ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสลายให้อนุภาคบีตา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ใน[[ฟิสิกส์นิวเคลียร์]], '''การสลายปลดปล่อยอนุภาคบีตา''' (beta decay) เป็นรูปแบบหนึ่งของ[[การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี]]ที่[[อนุภาคบีตา]] ([[อิเล็กตรอน]]หรือ[[โพซิตรอน]]) ถูกปลดปล่อยออกมา ในกรณีปลดปล่อยอิเล็กตรอน จะเป็น ''บีตาลบ'' (<math>{\beta}^-</math>) ขณะที่ในกรณีปลดปล่อยโพซิตรอนจะเป็น ''บีตาบวก'' (<math>{\beta}^+</math>) [[พลังงานจลน์]]ของอนุภาคบีตามีพิสัยสเปกตรัมต่อเนื่องจาก 0 ถึงค่าสูงสุดที่จะเป็นไป (''[[Q values|Q]]'') ซึ่งขึ้นกับสภาวะนิวเคลียร์ของต้นกำเนิดและลูกที่เกี่ยวข้องกับการสลาย โดยทั่วไป ''Q'' มีค่าประมาณ 1 [[อิเล็กตรอนโวลต์|MeV]] แต่สามารถมีพิสัยจากสองสาม keV ไปจนถึง สิบ MeV อนุภาคบีตากระตุ้นส่วนใหญ่มีความเร็วสูงมากเป็นซึ่งมีความเร็วใกล้เคียง[[อัตราเร็วของแสง]]
 
== การสลาย <math>{\beta}^-</math>==
 
ในการสลาย <math>{\beta}^-</math> [[อันตรกิริยาอย่างอ่อน]]จะเปลี่ยน[[นิวตรอน]] (n) ไปเป็น[[โปรตอน]] (p) ขณะปลดปล่อยอิเล็กตรอน (<math>e^-</math>) และ [[แอนทินิวตริโน]] (<math>\bar{\nu_e}</math>):
 
<math>
n \rightarrow p + e^- + \bar{\nu_e}
</math>
 
<!--At the [[fundamental particle|fundamental]] level (as depicted in the [[Feynman diagram]] below), this is due to the conversion of a [[down quark]] to an [[up quark]] by emission of a [[W boson|{{SubatomicParticle|W boson-}} boson]]; the {{SubatomicParticle|W boson-}} boson subsequently decays into an electron and an [[antineutrino]].
<center><gallery>
Image:Beta-minus Decay.svg|{{SubatomicParticle|Beta-}} decay in an [[atomic nucleus]]. The intermediate emission of a virtual [[W boson|{{SubatomicParticle|W boson-}} boson]] is omitted.
Image:Beta Negative Decay.svg|The [[Feynman diagram]] for {{SubatomicParticle|Beta-}} decay of a [[neutron]] into a [[proton]], [[electron]], and [[neutrino|electron antineutrino]] via an intermediate [[W boson|{{SubatomicParticle|W boson-}} boson]]
</gallery></center>-->
 
==อ้างอิง==