ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คัพภวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: hi:भ्रूणविज्ञान
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fa:رویان‌شناسی; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 2:
'''คัพภวิทยา''' หรือ '''วิทยาเอ็มบริโอ''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Embryology) เป็นการศึกษาการเจริญของ[[เอ็มบริโอ]] เอ็มบริโอคือขั้นหนึ่งของการเจริญของ[[สิ่งมีชีวิต]]ก่อนคลอดหรือออกจากไข่ หรือในพืชคือในระยะก่อนการงอก (germination)
 
[[ภาพไฟล์:Embryo, 8 cells.jpg|thumb|240px|right|ตัวอ่อนระยะมอรูลา (Morula) , ระยะ 8 เซลล์]]
 
คัพภวิทยาหมายถึงการเจริญของไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว ([[ไซโกต]]) และมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็น[[เนื้อเยื่อ]]และ[[อวัยวะ]]ต่างๆ หลังจากระยะแยก (cleavage) เซลล์ที่กำลังแบ่งตัว หรือ[[มอรูลา]] (morula) จะกลายมาเป็นลูกบอลกลวง หรือ[[บลาสตูลา]] (blastula) ซึ่งมีการเจริญของรูหรือช่องที่ปลายด้านหนึ่ง
 
[[ภาพไฟล์:Blastulation.png|thumb|240px|right|'''1''' - มอรูลา (morula), '''2''' - บลาสตูลา (blastula)]]
 
ใน[[สัตว์]] บลาสตูลาจะมีการเจริญแบ่งได้ออกเป็น 2 ทาง ทำให้สามารถแบ่งสัตว์ใน[[อาณาจักรสัตว์]]ออกเป็น 2 ประเภท ประเภทแรกคือหากมีการเจริญของรูในบลาสตูลา ([[บลาสโตพอร์]] (blastopore)) กลายเป็นปากของสัตว์ จะเรียกว่าพวก[[โพรโตสโตม]] (protostome) แต่หากรูนั้นเจริญเป็นทวารหนัก จะเรียกว่าพวก[[ดิวเทอโรสโตม]] (deuterostome) สัตว์พวกโพรโตสโตมได้แก่[[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]] เช่น [[แมลง]] [[หนอน]] และ[[พวกหอยกับปลาหมึก]] ในขณะที่พวกดิวเทอโรสโตมได้แก่สัตว์ที่วิวัฒนาการสูงเช่น[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]] (vertebrates) บลาสตูลาจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นโครงสร้างที่เรียกว่า [[แกสตรูลา]] (gastrula)
 
[[ภาพไฟล์:Gastrulation.png|thumb|240px|'''1''' - บลาสตูลา (blastula), '''2''' - แกสตรูลา (gastrula) และบลาสโตพอร์ (blastopore); '''สีส้ม'''แทนเอ็กโทเดิร์ม, '''สีแดง'''แทนเอนโดเดิร์ม]]
 
แกสตรูลาและบลาสโตพอร์จะเจริญไปเป็นชั้นต่างๆ 3 ชั้น (germ layers) ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของอวัยวะและเนื้อเยื่อในร่างกายทั้งหมด
บรรทัด 19:
สำหรับในมนุษย์ เอ็มบริโอหมายถึงกลุ่มเซลล์ที่กำลังแบ่งตัวรูปทรงกลมจากระยะที่ไซโกตฝังตัวอยู่ในผนัง[[มดลูก]]จนกระทั่งถึงสิ้นสุดสัปดาห์ที่ 8 หลังจากตั้งครรภ์ หลังจากสัปดาห์ที่ 8 จะเรียกตัวอ่อนของมนุษย์ว่า[[ทารกในครรภ์]] (fetus) เอ็มบริโอของสัตว์หลายชนิดจะมีลักษณะคล้ายกับสัตว์ชนิดอื่นๆ ในระยะการเจริญช่วงแรกๆ เหตุผลที่มีความคล้ายคลึงกันนั้นเนื่องจากสิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมของการตั้งครรภ์ ความคล้ายคลึงกันในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดเรียกว่า [[โครงสร้างกำเนิดต่างกัน]] (analogous structures) ซึ่งเป็นโครงสร้างที่ทำหน้าที่หรือกลไกเหมือนกันแต่วิวัฒนาการมาจากคนละส่วนกัน
 
[[ภาพไฟล์:6 weeks pregnant.png|right|thumb|เอ็มบริโอมนุษย์ อายุครรภ์ 6 สัปดาห์หลังประจำเดือนครั้งสุดท้าย]]
<!--
== History ==
บรรทัด 68:
* [http://www.rsrevision.com/Alevel/ethics/embryology/index.htm Embryo Research] UK philosophy and ethics website discussing the ethics of embryology
* [http://www.religioustolerance.org/res_emb.htm Human embryo research] Canadian website covering the ethics of human embryo research
* [http://www.indiana.edu/~anat550/embryo_main/index.html University of Indiana's Human Embryology Animations]
* '''''The Developing Human (Keith L.Moore'') ''' http://www.youtube.com/watch?v=Rb0uZefwQnc
 
บรรทัด 85:
[[es:Embriología]]
[[et:Embrüoloogia]]
[[fa:رویان‌شناسی]]
[[fi:Embryologia]]
[[fr:Embryologie]]