ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาอิหร่าน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 873:
ภาษาอเวสตะเป็นภาษาที่ใช้เขียนคัมภีร์ใน[[ศาสนาโซโรอัสเตอร์]] [[ภาษาเปอร์เซียโบราณ]]มีระบบการเขียนเป็น[[อักษรรูปลิ่ม]]
 
=== ภาษากลุ่มอิหร่านยุคกลาง ===
ยุคกลางในอิหร่านเริ่มต้นตั้งแต่ พ.ศ. 143 - 1443 ภาษาในยุคนี้แบ่งเป็นกลุ่มตะวันตกและกลุ่มตะวันออกเช่นกัน เริ่มใช้ตัวเขียนที่มาจาก[[อักษรอราเมอิก]] [[ภาษาเปอร์เซียกลาง]]เป็นภาษาราชการของ[[จักรวรรดิซัสซาเนียน]] เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 843 - 1543 [[ภาษาเปอร์เซียกลาง]]และ[[ภาษาพาร์เทีย]]เป็นภาษาในยุคมานิเชียนด้วย ซึ่งมีข้อความหลงเหลือในภาษานอกกลุ่มนี้เป็นจำนวนมากตั้งแต่[[ภาษาละติน]]ถึง[[ภาษาจีน]]
 
บรรทัด 887:
== การจัดจำแนก ==
[[File:IndoEuropeanTree.svg|thumb|400px|แผนผังการจัดจำแนกในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน]]
ภาษากลุ่มอิหร่านแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ[[ภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออก]]และ[[ภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตก]] มีทั้งหมดราว 84 ภาษา ภาษาที่มีผู้ใช้มากในปัจจุบันคือภาษาเคิร์ด ภาษาเปอร์เซีย และภาษาบาโลชิในกลุ่มตะวันตก และภาษาพาซตูในกลุ่มตะวันออก ในปัจจุบันมีการประดิษบ์ภาษากลุ่มอิหร่านขึ้นมาคือ[[ภาษาบาราเรย]]เป็นภาษาในนิยายและใกล้เคียงกับสำเนียงลูรี แต่ก็มีลักษณะของสำเนียงเกอร์มันซาฮานรวมอยู่ด้วย
 
==ดูเพิ่ม==