ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูคาลิปตัส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: eu:Eukalipto; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
{{Taxobox
| color = lightgreen
| name = ยูคาลิปตัส <br /> Eucalyptus
| image = Eucalyptus flowers2.jpg
| image_width = 250px
บรรทัด 24:
ในประเทศไทยเริ่มมีการนำเข้ามาปลูกครั้งแรกที่ พระที่นั่งวิมานเมฆ สมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อปีพ.ศ. 2444 <ref>ภานุมาศ จันทร์สุววรณ,วารสาร อวพช. มีนาคม 2551, หน้า 40</ref>
 
=== โครงสร้างของต้นยูคาลิปตัส ===
โครงสร้างของต้นยูคาลิปตัสซึ่งประกอบด้วย เปลือกไม้ซึ่งอยู่ด้านนอกสุดและเนื้อไม้ที่ซ่อนอยู่ด้านใน โดยในส่วนของเนื้อไม้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
 
บรรทัด 37:
เนื่องจากยูคาลิปตัสจะมีระบบรากที่แผ่ขยายเร็วและสามารถหยั่งลงไปในดินได้ในระดับลึก จึงมีประสิทธิภาพในการเสาะแสวงหาแหล่งน้ำใต้ดินได้มากกว่าพืชชนิดอื่น<ref>http://myfreezer.wordpress.com/2008/04/19/eucalyptus-9/#more-332 My Freezer…Since 19 Dec 2006 ที่พักของบทความอายุสั้นและสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นในทุกวันของชีวิต </ref>
 
== ข้อมูลยูคาลิปตัสต่อการใช้น้ำ ==
{{ตรวจลิขสิทธิ์ส่วน}}
ยูคาลิปตัสเป็นแค่ต้นไม้ทั่วไปเท่านั้น ไม่ทำให้พื้นดินกลายเป็นทะเลทรายแน่นอน
บรรทัด 102:
|}
 
<p>จากข้อมูลและการวิเคราะห์ข้างต้นพอจะสรุปได้ว่า <br />
• ไม้ยูคาลิปตัสจัดได้ว่าเป็นไม้ที่มีการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพมาก เมื่อเทียบกับการสร้างชีวมวลที่เท่า ๆ กัน <br />
• ไม้ยูคาลิปตัสมีการสร้างชีวมวลในปริมาณที่มากกว่าไม้ชนิดอื่นๆ ก็อาจจะมีผลให้มีการใช้น้ำมากขึ้นตามส่วน ซึ่งก็เป็นไปตามปกติของพืชและไม้โตเร็วทั่วไป <br />
• อัตราการคายน้ำและระเหยน้ำของสวนป่าไม้ยูคาลิปตัสนั้น อยู่ในเกณฑ์ปกติทั่วไป เมื่อเทียบกับไม้โตเร็วอื่นๆ <br />
 
ข้อกล่าวอ้างว่าไม้ยูคาลิปตัสเปรียบเสมือนต้นไม้สูบระบายน้ำ ที่ทำให้หนอง บึง และแผ่นดินแห้งแล้งนั้น มีหลักฐานทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่ชัดเจนว่าระดับน้ำที่ลดลงเท่ากับการปลูกพืชอื่น และ ดีกว่าในที่โล่ง
 
=== โครงการ “ปลูกไม้ยูคาลิปตัสบนคันนา” ===
 
ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดห้องเรียนภาคสนามเรียนรู้การปลูกไม้ยูคาลิปตัสบนคันนาและในไร่มันสำปะหลัง ภายใต้โครงการ “การวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อแก้ปัญหาความยากจนในชนบทโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ที่ดินด้วยการปลูกไม้โตเร็ว” ในท้องที่อำเภอสนามชัยเขต และอำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีอุตสาหกรรมการใช้ไม้ยูคาลิปตัสมาก โดยใช้แม่ไม้จำนวน 4 พันธุ์ ใน 2 ท้องที่ (Site) เขตอำเภอพนมสารคาม และอำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา คือ สายพันธุ์ K51, K59, K7 และ K58 ได้ทำการทดลองปลูกไม้ยูคาลิปตัสบนคันนาปรับแต่ง เป็นลักษณะของการปลูกพืชควบในระบบวนเกษตร เกษตรกรสามารถปลูกยูคาบนคันนาได้โดยปลูกเป็นแถวเดี่ยว ๆ ให้มีระยะห่างระหว่างต้นประมาณ 2 – 3 เมตร เพื่อเปิดช่องว่างให้นาข้าวในนาได้รับแสงสว่างอย่างเต็มที่และเพียงพอ การปลูกลักษณะนี้แทบไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเตรียมพื้นที่ปลูกและการดูแลรักษา เพราะชาวนาต้องยกตกแต่งคันนาและบำรุงรักษาต้นข้าวอยู่แล้ว หากคัดเลือกสายพันธุ์ให้เหมาะสมตามคำแนะนำของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็จะตัดไม้นำไปใช้ประโยชน์ได้ไม่น้อยกว่า 3 ตัน ต่อไร่ เมื่ออายุ 5 ปี นอกจากนี้ยังได้ทดลองปลูกไม้ยูคาลิปตัสควบมันสำปะหลัง, ปลูกไม้ยูคาลิปตัสบนคันนาที่มีระยะห่างต่าง ๆ กัน และปลูกไม้ยูคาลิปตัสในบริเวณบ้านเรือนที่อยู่อาศัย และตลอดระยะเวลาดำเนินโครงการไม่พบความเสียหายในเรื่องของการแย่งปุ๋ยพืชอาหารหรือการทำให้ดินเสื่อมสภาพ สามารถจะปลูกพืชสวนครัวหรือพืชชนิดอื่น ๆ ได้ เป็นการใช้พื้นที่เกษตรให้เกิดประโยชน์สูงสุด นอกจากจะเพิ่มวัตถุดิบให้แก่อุตสาหกรรมไม้ภายในประเทศ ยังเป็นการเพิ่มรายได้ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นให้แก่เกษตรกรในชนบท สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีโดยรวมให้แก่ชุมชนและประเทศอีกด้วย
บรรทัด 115:
“โครงการปลูกไม้ยูคาลิปตัสบนคันนา" สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรเพิ่มขึ้นจากการปลูกข้าวเชิงเดี่ยวประมาณ 2 – 3 เท่า ขณะที่การปลูกไม้ยูคาลิปตัสเป็นขอบเขตไร่มันสำปะหลัง ก็จะช่วยให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นประมาณ 1 – 2 เท่า ซึ่งขึ้นอยู่กับรายได้สุทธิของพืชทั้งสองชนิด ดังนั้นการปลูกไม้ยูคาลิปตัสในระบบวนเกษตร จึงนับว่าเป็นกลยุทธ์สำคัญของการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ที่ดิน ที่จะช่วยยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตของเกษตรกรให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:พืช]]
บรรทัด 135:
[[eo:Eŭkalipto]]
[[es:Eucalyptus]]
[[eu:Eukalipto]]
[[fa:اکالیپتوس]]
[[fi:Eukalyptukset]]