ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ป้อมดาว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ArthurBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: pt:Fortificação abaluartada
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: la:Fortalitia stellaris; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=ปราสาท, วัง หรือ คฤหาสน์ |เปลี่ยนทาง=}}
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
[[Imageไฟล์:Fortbourtange.jpg|thumb|280px|ป้อม[[บูร์แตงจ์]] (Bourtange), โกรนนิงเก็น, [[เนเธอร์แลนด์]] บูรณะให้เหมือนในปี ค.ศ. 1750]]
'''ป้อมดาว''' ({{lang-en|'''Star fort''' หรือ '''trace italienne'''}})
คือ[[ระบบป้อม]] (fortification) ที่วิวัฒนาการขึ้นระหว่างสมัยที่การใช้[[ดินปืน]]ในการต่อสู้โดยการใช้[[ปืนใหญ่]]ที่เริ่มแพร่หลายมากขึ้น ที่เริ่มสร้างเป็นครั้งแรกราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 ใน[[อิตาลี]] รูปทรงป้อมที่สร้างกันใน[[ยุคกลาง]]ไม่สามารถทนทานต่อการถูกโจมตีด้วยปืนใหญ่ได้ แรงระเบิดของปืนใหญ่สามารถทำลายกำแพงดิ่งได้อย่างง่ายดาย ขณะที่ป้อมดาวใช้กำแพงราบและเป็นโครงสร้างที่ใช้ระบบ[[กำแพงมุข]] (bastion) สามเหลี่ยม ที่ยื่นซ้อนกันออกมาซ้อนกันเป็นชั้นๆ ที่เป็นการช่วยป้องกันซึ่งกันและกัน และคูรอบป้อม ต่อมาป้อมดาวก็วิวัฒนาการมาใช้โครงสร้างเช่น[[ระบบป้องกันแบบสามเหลี่ยม]] (ravelin), การสร้างเสริมส่วนบนของกำแพง (crownwork) และเพิ่มป้อมที่เป็นอิสระจากตัวป้อมหลัก เพื่อเพิ่มความซับซ้อนให้แก่โครงสร้างเพิ่มขึ้น
บรรทัด 18:
 
== ที่มา ==
[[Imageไฟล์:Coevorden.jpg|thumb|200px|right|ระบบป้อมของ plan of [[โควอร์ดอง]] (Coevorden) ที่เป็นทรงหลายเหลี่ยมที่กระจายออกไปจากศูนย์กลาง โดยมีการก่อสร้างระบบกำแพงดินอันหนาแน่นด้านนอกที่สร้างใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดย[[มอริสแห่งนาซอ เจ้าชายแห่งออเรนจ์]] (Maurice of Nassau, Prince of Orange)]]
 
ก่อนหน้าการสร้างป้อมดาว ป้อมใน[[ยุคกลาง]]มักจะตั้งอยู่บนเนินสูง จากป้อมผู้ป้องกันป้อมสามารถยิงธนูลงมายังข้าศึกได้ ปราสาทยิ่งสูงเท่าใดรัศมีของการยิงก็ยิ่งกว้างไกลขึ้น ทางเดียวที่ข้าศึกจะยึดที่มั่นได้ก็ด้วยการพังประตูหน้าหรือปีนกำแพงด้วยบันได ป้อมลักษณะนี้ยากต่อการยึดโดยผู้โจมตีป้อม ฉะนั้นการสร้างป้อมประเภทนี้จึงสร้างตามจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญ
บรรทัด 24:
เมื่อการโจมตีป้อมวิวัฒนาการมาเป็นการใช้ปืนใหญ่ในการโจมตีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 วิศวกรทางยุทธศาสตร์ก็ตอบโต้โดยการสร้างกำแพงในคูและกันด้วยกำแพงดินลาดเพื่อจะได้ไม่ถูกทำลายด้วยปืนใหญ่ที่ยิงมาโดยตรง และเพื่อให้กำแพงที่ตอนบนเป็นดินช่วยรับกำลังปะทะของระเบิดที่ทำให้แรงการทำลายลดลง และเมื่อทำได้เช่นที่[[ป้อมมาโนเอล]] (Fort Manoel) ใน[[มอลตา]] “คู” ก็ขุดเข้าไปในผาหิน และ “กำแพง” ด้านในของคูก็เป็นหินธรรมชาติ แต่เมื่อกำแพงยิ่งเตี้ยลงก็ยิ่งเป็นการง่ายขึ้นต่อการโจมตี
 
[[Fileไฟล์:StarFortDeadZones.png|left|200px200px]]
จุดอ่อนอีกอย่างหนึ่งคือป้อมทรงกลมที่นิยมสร้างกันในยุคกลางและหอเล็ก (turret) เป็นการทำให้เกิด “จุดมรณะ” (dead space) หรือ “บริเวณมรณะ” (dead zone) ซึ่งเป็นจุดที่ค่อนข้างปลอดจากการยิงป้องกันเพราะผู้ยิงไม่สามารถจะยิงอ้อมกำแพงโค้งจากอีกด้านหนึ่งของกำแพงได้ เพื่อที่จะแก้ปัญหานี้หอที่เคยเป็นทรงสี่เหลี่ยมหรือกลมก็เปลี่ยนไปเป็นแบบรูปข้าวหลามตัดยื่นออกไปเพื่อไม่ให้ผู้โจมตีปราสาทมีที่หลบได้ คูและกำแพงก็ออกแบบที่ทำให้ตล่อมกองทัพของผู้โจมตีให้เข้ามาในบริเวณที่ต้องการและทำให้การโจมตีโดยปืนใหญ่สร้างความวุ่นวายให้แก่ผู้ที่จะพยายามปีนกำแพงด้วย การออกแบบมีจุดประสงค์ที่จะไม่ไห้ผู้โจมตีมีที่หลบภัยจากการต่อต้านได้
 
บรรทัด 30:
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ปราสาท]]
 
== ระเบียงภาพ ==
<center>
<gallery perrow="5">
ไฟล์:Palma2.jpg|ผังป้อมพาลมาโนวา<br />ในพิพิธภัณฑ์ที่[[เวนิส]]
ไฟล์:Table of Fortification, Cyclopaedia, Volume 1-2009-04-05.jpg|ตารางระบบป้อมจากสารานุกรม ค.ศ. 1728
ไฟล์:Table_of_Fortification%2C_Cyclopaedia%2C_Volume_1.jpg|ตารางระบบป้อมจากสารานุกรม ค.ศ. 1728
ไฟล์:Olomouc_map_1757.jpg|ผังป้อม (ค.ศ. 1757)<br />ในสาธารณรัฐเช็ก
ไฟล์:Neuf-Brisach 007 850.jpg|เมืองเนิร์ฟบริซาคในฝรั่งเศสที่ตั้งอยู่ภายในป้อมดาว
ไฟล์:Suomenlinna.jpg|ป้อม Suomenlinna<br />ใน[[ฟินแลนด์]]
ไฟล์:KronborgCastle_HCS.jpg|ป้อมดาวที่[[โครนเบิร์ก]]<br />[[เดนมาร์ก]]
ไฟล์:Siege of Groenlo November 9th 1606 Snayers.jpg|ภาพการล้อมเมืองเกรินโลใน[[เนเธอร์แลนด์]]<br />ในปี ค.ศ. 1606
ไฟล์:Naarden kl Bijgewerkt.jpg|เมืองนาร์เดนใน<br />[[เนเธอร์แลนด์]]
ไฟล์:Willemstad 20040517.jpg|เมืองวิลเล็มชตัดใน<br />[[เนเธอร์แลนด์]]
</gallery>
</center>
บรรทัด 62:
[[fr:Tracé à l'italienne]]
[[it:Fortificazione alla moderna]]
[[la:Fortalitia stellaris]]
[[pl:Twierdza gwiazda]]
[[pt:Fortificação abaluartada]]