ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดคาร์บอกซิลิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ga:Aigéad carbocsaileach
M sky (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เคมีอินทรีย์}}
 
[[ภาพไฟล์:Carboxylic-acid.svg|thumb|150px|โครงสร้างของกรดคาร์โบซิลิก]]
[[ภาพไฟล์:Carboxylic-acid-group-3D.png|thumb|150px|โครงสร้าง 3 มิติของกรดคาร์โบซิลิก]]
'''กรดคาร์บอกซิลิก''' ({{lang-en|carboxylic acids}}) คือ [[กรดอินทรีย์]] (organic acids) ที่ประกอบไปด้วยหมู่ฟังก์ชัน '''คาร์บอกซิล''' (carboxyl group), ซึ่งมี [[สูตรเคมี]] คือ - ([[Carbon|C]]=[[Oxygen|O]]) -[[Hydroxy|OH]], ซึ่งปรกติเขียนอยู่ในรูป'''-COOH'''. โดยทั่วไปกรดคาร์บอกซิลิกในรูปของเกลือ หรือ [[ประจุลบ]] จะถูกเรียกว่า '''คาร์บอกซิเลท''' (carboxylates) นอกจากนี้ในสารประกอบอาจมีหมู่คาร์บอกซิลมากกว่า 1 หมู่ต่อ 1 [[โมเลกุล]]
 
== คุณสมบัติทางกายภาพ ==
กรดคาร์บอกซิลิกมีอยู่ทั่วไปในธรรมชาติและโดยปกติแล้วมีคุณสมบัติเป็น[[กรดอ่อน]] (weak acids) นั่นก็คือเมื่อกรดคาร์บอกซิลิกละลายใน[[น้ำ]]ก็จะเกิด[[การแตกตัว]]เพียงบางส่วนให้ H<sup>+</sup> และRCOO<sup>−</sup> ตัวอย่างเช่น ที่อุณภูมิห้อง[[กรดอะซิติก]] (acetic acid) เกิดการแตกตัวเพียงแค่ 0.02% ในสารละลาย
 
[[ออกซิเจน]] 2 อะตอมในโมเลกุลมีแนวโน้มที่จะดึงเอา[[อิเล็กตรอน]]มาจากอะตอม[[ไฮโดรเจน]] ซึ่งทำให้[[โปรตอน]] หลุดออกจากโมเลกุลได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ความป็นกรดของกรดคาร์บอกซิลิกยังสามารถอธิบายได้จากผลของ [[resonance (chemistry)|resonance]] effects นั่นคือเมื่อเกิดการแตกตัวของกรดคาร์บอกซิลิกประจุลบจะเกิดการเคลื่อนที่ (delocalized) ระหว่างออกซิเจนอะตอม 2 อะตอมทำให้โมเลกุลเสถียรขึ้น นอกจากนี้ พันธะระหว่างคาร์บอน-ออกซิเจนจะมีลักษณะที่เรียกว่า กึ่งพันธะคู่ (partial double bond characteristic)
 
ใน [[อินฟราเรดสเปคตรัม]] (infrared spectrometry) สเปคตรัมของหมู่ไฮดรอกซี (O-H) ของหมู่คาร์บอกซิล (carboxyl group) ปรากฏที่ตำแหน่ง 2500 ถึง 3000 cm<sup>-1</sup>
 
ใน <sup>1</sup>H NMR spectrometry สเปคตรัมของไฮโดรเจนของหมู่ไฮดรอกซี ปรากฏที่ตำแหน่ง 10-13 ppm