ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
| หัวหน้า = นางทิพย์รัตน์ เด่นดำรงวิทย์
| เพลง = มาร์ชนวมินทราชูทิศ
| สี = [[สีนำเงิน|{{แถบสีสามกล่อง|#FF0000FF}} นำเงิน]]<br />[[สีเหลือง|{{แถบสีสามกล่อง|#FFFFFFFFFF00}} เหลือง]]
| ที่ตั้ง = {{flagicon|Thailand}}<br>115 หมู่ 11 ซอยนวลจันทร์ 163 (อมรวิวัฒน์) [[ถนนนวมินทร์]]<br>[[แขวงคลองกุ่ม]] [[เขตบึงกุ่ม]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| เว็บไซต์ = http://www.nmk.ac.th
}}
บรรทัด 18:
== ประวัติ ==
โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่เลขที่ 115 หมู่ 11 ซอยนวลจันทร์ 163 (อมรวิวัฒน์) ถนนนวมินทร์ แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญ พระชนมายุ ครบ 5 รอบ ในวันที่ 5 ธันวาคม 2530 โดยมีนายประสงค์ อ้นสุวรรณ ผู้สนใจในการศึกษาได้ติดต่อและประสานงาน เรื่องการบริจาคที่ดินจากคหบดีและคหปตานี ซึ่งเป็นเครือญาติจำนวน 6 ราย ดังนี้คือ
 
1.นางเสริม น้อยสิริ
 
2.นายมุข ทัเจริญทับเจริญ
 
3.นายริด สุวรรณน้อย
บรรทัด 34:
ร่วมกันบริจาคที่ดินจำนวน 17 ไร่ 24 ตารางวา
ประกาศตั้งโรงเรียนเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2528 ใช้ชื่อว่าโรงเรียนนวมราชูทิศ กรุงเทพมหานคร มีนายกนก จันทร์ขจร ผู้อำนวยการ โรงเรียนมักกะสันพิทยา รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่ เปิดทำการสอนนักเรียนรุ่นแรกจำนวน 307 คน ในปีการศึกษา 2528 โดยอาศัยอาคารเรียนของโรงเรียนแย้มจาดวิชชานุสรณ์และมีอาจารย์จากโรงเรียนมักกะสันพิทยา จำนวน 6 ท่านดำเนินการจัดการเรียนการสอน
 
ต่อมากระทรวงศึกษาธิการเห็นสมควรเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเพื่อความสมบูรณ์และความไพเราะในเชิงอักษรศาสตร์ จึงได้ประกาศ ให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2528
 
วันที่ 23 สิงหาคม 2528 โรงเรียนได้ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารเรียนทรงไทย 3 ชั้น หลังแรก โดย พณฯ นายกรัฐมนตรี พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ เป็นประธานในพิธี อาคารหลังนี้ไดรับความอนุเคราะห์จากท่านเจ้าคุณพระราชปัญญาโกศล เป็นประธาน อุปถัมภ์[[มูลนิธินวมราชานุสรณ์]] และองค์อุปถัมภ์ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร (ในขณะนั้น) เป็นจำนวนเงิน 12 ล้านบาท โรงเรียนจึงได้ ตั้งชื่ออาคารหลังนี้ว่า อาคารพระราชปัญญาโกศล
ต่อมาในปีการศึกษา 2529 จึงได้ย้ายมาเรียนในอาคารชั่วคราวที่ชุมชนได้ร่วมใจกันสร้างเป็นสถานที่เรียนบนที่ดินของโรงเรียน โดยสามารถ ใช้ประโยชน์จากอาคารพระราชปัญญาโกศลบางส่วนเป็นห้องเรียนและสำนักงาน
 
ปัจจุบัน มีอาคารเรียนแบบพิเศษ 4 ชั้น รูปตัว E จำนวน 67 ห้องเรียน และอาคารพระราชปัญญาโกศล จำนวน 12 ห้อง อาคารหอประชุมแบบพิเศษ 2 ชั้น 1 หลัง อาคารพยาบาล 1 หลัง และอาคารประชาสัมพันธ์1 หลัง
 
== ผู้บริหาร ==