ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดนิวคลีอิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Violy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Violy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
ในลักษณะที่ตั้งฉากกับแกนหลักและวางอยู่ในระนาบเดียวกัน การที่เบสวางอยู่ในสภาพเช่นนี้ทำให้เบสระหว่างอะดีนีนและไทมีนสามารถเกิดพันธะได้ 2 พันธะ และเบสระหว่าง
กวานีนกับไซโทซีนเกิดได้ 3 พันธะ ซึ่งการเข้าคู่กันนี้ถ้าสลับคู่กันจะทำให้พลังงานที่ยึดเหนี่ยวไม่เหมาะสมกับการเข้าคู่ เพื่อเกิดเกลียวคู่ของ DNA
 
ฉะนั้นถ้าการเรียงตัวของเบสใน DNA สายหนึ่งเป็น T-C-C-A-A-G ลำดับการเรียงตัวของเบสในอีกสายหนึ่งจึงต้องเป็น A-G-G-T-T-C เราเรียกลักษณะนี้ว่า
 
การจับกันของเบสคู่สม ( base complementary )
 
'''สมบัติของ DNA ในสารละลาย'''
 
สมบัติเกี่ยวกับกรดและเบส DNA แสดงสมบัติเป็นกรดเนื่องจากหมู่ฟอสเฟตที่อยู่ในพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์มีค่า pKa ประมาณ 2.1 ฉะนั้นที่ pH ปกติในเซลล์ของร่างกาย
 
ประมาณ 6.7 หมู่ฟอสเฟตดังกล่าวจะมีประจุรวมที้งกรดนิวคลีอิกในเซลล์มีประจุลบด้วยทำให้สามารถจับกับแอนไอออนหรือแคตไอออน หรือสายอื่นๆที่มีประจุบวก
 
เช่น ฮีสโทน (histone) โพรทามีน (protamine)
 
 
 
* [[RNA]] (ribonucleic acid) พบในนิวเคลียสและ[[ไซโตพลาสซึม]]ของสิ่งมีชีวิต มีหน้าที่หลักในการสังเคราะห์[[โปรตีน]]ภายในเซลล์