ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังฆกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
'''สังฆกรรม''' แปลว่า ''กรรมอันสงฆ์พึงทำ'' หมายถึงกิจกรรมทางพระวินัยที่[[ภิกษุ]]จำนวน 4 รูปขึ้นไปซึ่งถือว่าเป็น[[สงฆ์]]จะพึงร่วมกันทำเป็น[[สังฆสามัคคี]] ในการทำสงฆ์จะต้องพร้อมเพรียงกันทำ ต้องทำใน[[เขตสีมา]]ที่เรียกว่า[[อุโบสถ]]หรือโบสถ์ ต้องนั่งให้ได้[[หัตถบาท]]อยู่ในที่ประชุมตลอดเวลาที่ทำ เวลามีมติต้องเป็นเอกฉันท์โดยใช้วิธีเงียบหรือรับว่า[[สาธุ]] และเป็นไปโดยถูกต้องเป็นธรรม ไม่มีอคติ เช่นนี้จึงจะเป็นสังฆกรรมแท้
 
สังฆกรรม ตามพระธรรมวินัย มี 4 อย่าง คือ1 1.[[อปโลกนกรรม]] การปรึกษาหารือ (คือการประชุมหามติ)เช่น [[อธิกรณสมถะ]]2.[[ญัตติ]] ตั้งญัตติสวดเผดียงสงฆ์(การประชุมที่มีการสวดตั้งเรื่องที่จะประชุม) เช่นการสวดพระ[[ปาฏิโมกข์]] 3.ญัตติทุติย[[กรรมวาจา]] สวดตั้งญัตติ และสวดกรรมวาจาอนุสาวนา (ถามความเห็นที่ประชุม)เช่น การสวด[[กฐิน]]4 .ญัตติจตุตถกรรมวาจา สวดตั้งญัตติและสวดกรรมวาจาถงสามครั้ง เช่น การให้[[อุปสมบท]]
 
กิจกรรมหรืองานที่ต้องทำเป็นสังฆกรรม ได้แก่ '''[[การทำปาฏิโมกข์]]''' '''[[การปวารณา]]''' '''[[การสมมุติสีมา]]''' '''[[การให้ผ้ากฐิน]]''' '''[[การอุปสมบท]]''' เป็นต้น