ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทกภัยและโคลนถล่ม 5 จังหวัดในเขตภาคเหนือตอนล่าง พ.ศ. 2549"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aontanna (คุย | ส่วนร่วม)
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นของ Tmd ด้วยสจห.: ล่าง
บรรทัด 1:
{| class="toccolours" border="1" cellpadding="4" style="float: right; margin: 0 0 1em 1em; width: 30%; border-collapse: collapse; font-size: 95%; clear: right"
|+<big>'''เหตุการณ์อุทกภัยและโคลนถล่ม 5 จังหวัดในเขตภาคเหนือตอนบนล่าง พ.ศ. 2549'''</big>
|-
| align = center colspan="2" |
บรรทัด 9:
|-
| '''อุบัติ:'''
| [[23 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2549|2549]]<br>5 จังหวัดในบริเวณเขตภาคเหนือตอนบนล่างของประเทศไทย
|-
| '''จำนวนผู้เสียชีวิตและสูญหาย:'''
บรรทัด 22:
|}
 
'''เหตุการณ์อุทกภัยและโคลนถล่มในจังหวัดบริเวณภาคเหนือตอนบนล่าง พ.ศ. 2549''' เป็นเหตุการณ์ที่[[ฝน]]ตกผิดปกติคงที่ในพื้นที่เดิมเป็นเวลาหลายวัน (ประมาณ 1 สัปดาห์) ในบริเวณ[[ภาคเหนือ]]ตอนบนล่าง ในช่วงปลายเดือน[[พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2549]] ทำให้ดินบนภูเขาไม่สามารถอุ้มน้ำฝนที่ตกลงมาได้ จึงส่งผลให้เกิดภาวะ[[น้ำท่วม]] และภาวะ[[ดินถล่ม]]ในช่วงกลางคืนของวันที่ [[22 พฤษภาคม]] ต่อเนื่องถึงเช้ามืดของวันที่ [[23 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2549]] ก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน[[จังหวัดอุตรดิตถ์]] ที่มีพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์นี้มากที่สุด ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตเฉพาะใน[[จังหวัดอุตรดิตถ์]]จังหวัดเดียวมากกว่า 75 คน จากจำนวนผู้เสียชีวิตและสูญหายทั้งหมด 116 ราย จาก 5 จังหวัดที่ประสบเหตุการณ์อุทกภัยและโคลนถล่มครั้งนี้
 
== การพยากรณ์และการเกิดเหตุการณ์ ==
[[ไฟล์:Laplae 49.JPG|thumb|250px|right|ดินถล่มทับหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ในหุบเขา ที่[[อำเภอลับแล]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]]]]
 
กรมอุตุนิยมวิทยาได้ออกประกาศเตือนหลายฉบับเตือนประชาชนในภาคเหนือตอนบนล่างล่วงหน้า โดยได้พยากรณ์ว่าหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงกำลังปกคลุมภาคเหนือ ลักษณะเช่นนี้อาจทำให้เกิดภาวะน้ำท่วมดินถล่มและน้ำป่าไหลหลากได้หลายฉบับในช่วงก่อนเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว แต่ไม่ได้รับความสนใจมากนัก เนื่องจากกรมอุตุนิยมวิทยาออกประกาศเตือนในลักษณะเดียวกันนี้เป็นประจำ ทำให้ประชาชนไม่ค่อยตื่นตัวที่จะรับมือแต่อย่างใด รวมทั้งสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ที่ประสบเหตุตั้งอยู่ในหุบเขาหรืออยู่ในที่ดอนน้ำจากแม่น้ำหลากท่วมไม่ถึงโดยธรรมชาติอยู่แล้ว แต่ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวกลายเป็นน้ำป่าโคลนถล่มจากภูเขา ทำให้ไม่มีใครเตรียมรับมือและก่อให้เกิดความสูญเสียจำนวนมาก
 
ก่อนวันเกิดเหตุประมาณ 1 สัปดาห์ ได้มีหย่อมความกดอากาศต่ำ มีฝนตกปรอยๆ สลับกับตกหนักต่อเนื่องมาหลายวัน ทำให้พื้นดินรวมทั้งเชิงเขาใน[[อำเภอลับแล]]และ[[ท่าปลา]]ที่ส่วนใหญ่เป็นดินทรายและมีความลาดชันสูง หมดขีดความสามารถในการอุ้มน้ำ น้ำที่อุ้มไว้อย่างเอียง ๆ เต็มที่แล้วนั้น นอกจากจะทำให้ดินมีน้ำหนักมากขึ้น ยังลดความฝืดของอณูดินเองกับหล่อลื่นรากพืชที่ช่วยกันต้านแรงดึงดูดของโลกไว้ เมื่อมีฝนระลอกใหญ่ตกเพิ่มเติมลงมาทั้งวันทั้งคืนในวันที่ [[22 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2549]] จึงทำให้พื้นที่ที่หมดขีดความสามารถในการอุ้มน้ำ จนบางส่วนพังทลายลงมาในรูปของโคลนถล่มพร้อมกับต้นไม้ไหลทลายทับถมลงมาบ้านเรือนประชาชน ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินประชาชนจำนวนมาก โดยเหตุการณ์หายนะภัยได้เกิดขึ้นตั้งแต่ช่วงสี่ทุ่มของวันที่ [[22 พฤษภาคม]] โดยมีน้ำป่าและโคลนไหลถล่มบ้านเรือนประชาชนและตัดเส้นทางคมนาคมโดยสิ้นเชิงในหลายพื้นที่ จนฝนได้หยุดตกในช่วงเช้ามืดของวันที่ [[23 พฤษภาคม]] แต่น้ำป่าก็ยังไหลออกจากภูเขาและท่วมขังกินพื้นที่บริเวณกว้างในพื้นที่แม่น้ำน่านฝั่งซ้ายของจังหวัดอุตรดิตถ์ ทำให้อำเภอลับแลและตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ต้องจมน้ำกว่าสองเมตรเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ซึ่งต้องใช้เวลาในการฟื้นฟูนานนับเดือน และกว่า 3 ปีนับจากนั้น ได้ปรากฏร่องรอยดินถล่มสีแดงตัดกับสีเขียวของต้นไม้บนภูเขาที่ตั้งอยู่ล้อมรอบจังหวัดอุตรดิตถ์ เตือนให้เห็นถึงหายนะภัยครั้งประวัติศาสตร์ของจังหวัดอุตรดิตถ์
บรรทัด 35:
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้สรุปสถานการณ์อุทกภัยดังกล่าวไว้ดังนี้<ref>[http://www.disaster.go.th/old/news01/webddpm/test3.html สถานการณ์อุทกภัยและโคลนถล่ม (ข้อมูล ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2549)]. เว็บไซต์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย . เรียกข้อมูลวันที่ 30-5-52</ref>
 
เหตุการณ์อุทกภัยและโคลนถล่มในจังหวัดบริเวณภาคเหนือตอนบนล่าง มีพื้นที่ประสบภัย รวม 5 จังหวัด 26 อำเภอ 1 กิ่งอำเภอ 171 ตำบล 1,200 หมู่บ้าน ได้แก่ [[จังหวัดอุตรดิตถ์]] [[สุโขทัย]] [[แพร่]] [[ลำปาง]] และ[[น่าน]] มีผู้เสียชีวิต 87 คน (จ.อุตรดิตถ์ 75 คน จ.สุโขทัย 7 คน และ จ.แพร่ 5 คน) สูญหาย 29 คน (จ.อุตรดิตถ์ 28 คน จ.สุโขทัย 1 คน) บ้านเรือนเสียหายทั้งหลัง 697 หลัง เสียหายบางส่วน 2,970 หลัง ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 352,016 คน 108,762 ครัวเรือนอพยพ 10,601 คน<ref>[http://www.disaster.go.th/old/news01/disas_01.htm สรุปความเสียหายจากสถานการณ์อุทกภัยภาคเหนือ รวม 5 จังหวัด (ระหว่างวันที่ 21 พฤษภาคม - 6 มิถุนายน 2549)]. เว็บไซต์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย . เรียกข้อมูลวันที่ 30-5-52</ref>
 
== การบรรเทาทุกข์ ==
บรรทัด 55:
* [http://www.dmr.go.th/ewt_news.php?nid=3294&filename=index อุตรดิตถ์ทำบุญครบ1ปีโคลนถล่ม75ศพ คนแห่อาลัยคับคั่ง-สั่งทดลองหอสัญญาณเตือนภัย]. กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. วันที่ 26-5-2550
* [http://www.bangkokbiznews.com/scitech/2004/0902/news.php?news=column_14559254.html รู้ได้อย่างไรว่าที่ไหนจะเกิด ดินถล่ม-โคลนถล่ม?] กรุงเทพไอที นสพ. กรุงเทพธุรกิจ 9 ก.ย. 2547
* [http://www.youtube.com/watch?v=Ym6DW9KtZy0 วีดีโอบันทึกภาพเหตุการณ์และการช่วยเหลือผู้ประสบภัยฯ]. ประมวลบันทึกภาพเหตุการณ์อุทกภัยและโคลนถล่ม 5 จังหวัดในเขตภาคเหนือตอนบนล่าง พ.ศ. 2549 จากเว็บไซต์ยูทูป. เรียกข้อมูลเมื่อ 1 มิ.ย. 52
 
[[หมวดหมู่:ภัยธรรมชาติ]]