ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: zh:正三角形
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: hsb:Runobóčny třiróžk; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
[[ภาพไฟล์:Triangolo-Equilatero.png|thumb|right|รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า]]
'''รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า''' คือ[[รูปสามเหลี่ยม]]ชนิดหนึ่งที่ด้านทั้งสามมี[[ความยาว]]เท่ากัน ใน[[เรขาคณิตแบบยุคลิด]] รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจัดเป็น[[รูปหลายเหลี่ยมมุมเท่า]] (equiangular polygon) กล่าวคือ มุมภายในแต่ละมุมของรูปสามเหลี่ยมมีขนาดเท่ากันคือ 60° ด้วยคุณสมบัติทั้งสอง รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจึงจัดเป็น[[รูปหลายเหลี่ยมปรกติ]] (regular polygon) และเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่าเป็น ''รูปสามเหลี่ยมปรกติ''
 
บรรทัด 6:
รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความสมมาตรมากที่สุด คือมี[[สมมาตรแบบสะท้อน]]สามเส้น และ[[สมมาตรแบบหมุน]]ที่อันดับสามรอบศูนย์กลาง [[กรุปสมมาตร]]ของรูปสามเหลี่ยมนี้จัดว่าเป็น[[กรุปการหมุนรูปของอันดับหก]] (dihedral group of order 6) หรือ ''D<sub>3</sub>''
 
[[ภาพไฟล์:Viervlak-frame.jpg|thumb|right|ทรงสี่หน้าปรกติ สร้างขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสี่รูป]]
รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถพบได้ในโครงสร้างทางเรขาคณิตอื่นๆ หลายอย่าง เช่น [[รูปวงกลม]]ที่มี[[รัศมี]]เท่ากันสองวงตัดกัน โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่บนเส้นรอบวงของอีกวงหนึ่ง ทำให้เกิด[[ส่วนโค้ง]]ขนาดเท่ากัน และสามารถแสดงได้ด้วยรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า รูปสามเหลี่ยมนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของการสร้าง[[ทรงหลายหน้า]] [[ทรงตันเพลโต]]สามในห้าชิ้นประกอบขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า หนึ่งในนั้นคือ[[ทรงสี่หน้าปรกติ]] ซึ่งประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่าทั้งสี่หน้า นอกจากนั้นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถนำมาเรียงติดต่อกันบน[[ระนาบ]] จนเกิดเป็น[[รูปแบนราบสามเหลี่ยม]] (triangular tiling)
 
บรรทัด 12:
 
== การสร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ==
[[ภาพไฟล์:Equilateral triangle construction.svg|200px|thumb|right|การสร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า]]
รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถสร้างขึ้นได้ง่ายด้วย[[สันตรง]]และ[[วงเวียน]] เริ่มต้นจากวาดวงกลมรัศมี ''r'' หน่วยด้วยวงเวียน จากนั้นวาดวงกลมอีกวงหนึ่งด้วยรัศมีเท่ากัน โดยให้[[จุดศูนย์กลาง]]ของวงใหม่อยู่บน[[เส้นรอบวง]]ของวงกลมแรก วงกลมทั้งสองจะตัดกันสองจุด ลาก[[ส่วนของเส้นตรง]]เชื่อมจุดศูนย์กลางทั้งสอง และลากจากจุดศูนย์กลางทั้งสองไปยังจุดตัดจุดหนึ่งบนเส้นรอบวง ส่วนของเส้นตรงทั้งสามเส้นจะประกอบกันเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ายาวด้านละ ''r'' หน่วย
 
บรรทัด 61:
[[fi:Tasasivuinen kolmio]]
[[fr:Triangle équilatéral]]
[[hsb:Runobóčny třiróžk]]
[[it:Triangolo equilatero]]
[[ja:正三角形]]