ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ว็อล์ฟกัง เพาลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: sk:Wolfgang Pauli
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: uk:Вольфганг Паулі; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 4:
| image =
| image_width = 220px
| nationality = {{AUT}}<br />{{CHE}}<br />{{USA}}
| birth_date = 25 เมษายน 2443
| birth_place = [[เวียนนา]] [[ออสเตรีย-ฮังการี]]
บรรทัด 13:
| doctoral_advisor = [[อาร์โนลด์ ซอมเมอร์เฟลด์]]
| doctoral_students = [[นิโคลาส เคมเมอร์]]
| work_institution = [[มหาวิทยาลัยของเกททิงเคน|เกททิงเคน]]<br />[[มหาวิทยาลัยของโคเปนเฮเกน|โคเปนเฮเกน]]<br />[[มหาวิทยาลัยของฮามบรูก|ฮามบรูก]]<br />[[ETH เซริค]]<br />[[มหาวิทยาลัยของมิชิแกน|มิชิแกน]]<br /> [[สถาบันสำหรับการศึกษาก้าวหน้า|ปรินซ์ตัน]]
| prizes = [[ไฟล์:Nobel_prize_medal.svg|20px]] [[รายนามผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์|รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]] (2488/1945) <br /> เหรียญ ลอเรนทซ์ (2474/1931) <br /> เหรียญ มากซ์ พลางค์ (2501/1958)
}}
 
บรรทัด 22:
เปาลีได้ถือกำเนิดขึ้นในกรุงเวียนนา โดยเป็นบุตรของ โวล์ฟกัง โยเซฟ เปาลี และ เบร์ตา ซามิลลา เชทซ์ ชื่อกลางของเขาได้ถูกตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่พ่อในทางศาสนา ซึ่งเป็น นักฟิสิกส์ ชื่อ เอิร์นสต์ มาค พ่อของเปาลี หรือ โวล์ฟกัง เปาลี ซีเนียร์ (ชื่อเดิม วูล์ฟ พาสเคเลส) มี บิดา มารดา ที่มาจากครอบครัวชาวยิวที่มีชื่อเสียงใน[[กรุงปราก]] แต่เขาได้เปลี่ยนศาสนาจาก ยิว ไปเป็น โรมันคาทอลิก ไม่นานก่อนงานแต่งงานของเขาในปี พ.ศ. 2442 มารดาของเพาลี หรือ เบร์ตา เชทซ์ ถูกเลี้ยงมาในศาสนาโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นศาสนาของมารดาของเธอ แต่พ่อของเธอ (เฟียร์ดริช เชทซ์) เป็นนักเขียนชาวยิว แม้ว่า เปาลี จะถูกเลี้ยงมาในศาสนาโรมันคาทอลิก ท้ายที่สุดเขา (และ บิดา มารดา ของเขา) ก็ออกจากศาสนานั้น <ref>{{cite web|url=http://www.jinfo.org/Physicists.html|title=นักฟิสิกส์ชาวยิว (ภาษาอังกฤษ)|access_date=2006-09-30}}</ref>
 
เปาลี เข้าเรียนในโรงเรียน เดอบลิงเงอร์-คุมเนเซียม ในเวียนนา จบจากโรงเรียนด้วยความโดดเด่นพิเศษ ในปี พ.ศ. 2461 โดยเพียงสองเดือนก่อนที่เขาจบการศึกษา ผลงานของเด็กมหัศจรรย์หนุ่มคนนี้เกี่ยวกับ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ของ ไอน์สไตน์ ก็ได้รับการตีพิมพ์ เขาได้เข้าศึกษาต่อที่ มหาวิทยาลัย ลุดวิค-เมกซิมิลเลียนส์ ของ มิวนิค โดยทำงานภายใต้การดูแลของ ซอมเมอร์เฟลด์ เขาได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิต ใน เดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2464 จากมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ด้วยหัวข้อวิทยานิพนธ์ เกี่ยวกับ ทฤษฎีควอนตัม ของ โมเลกุลไฮโดรเจน ที่มีประจุ ซอมเมอร์เฟลด์ ขอให้ เพาลี เขียนอธิบายทบทวน ทฤษฎีสัมพัทธภาพ สำหรับ <i>''Encyklopaedie der mathematischen Wissenschaften</i>'' ("สารานุกรม ของ วิทยาศาสตร์ที่บรรยายด้วยคณิตศาสตร์") ซึ่งเป็น สารานุกรมของชาวเยอรมัน สองเดือนหลังจากได้รับปริญญาเอก เพาลี ก็ เขียนบทความสำเร็จ ซึ่งมีทั้งหมดถึง 237 หน้า มันเป็นผลงานที่ได้รับการสรรเสริญจาก ไอน์ไตน์ และได้รับการตีพิมพ์เป็นบทความเดี่ยว บทความนี้ยังคงเป็นบทความอ้างอิงมาตรฐาน เกี่ยวกับสัมพัทธภาพทั่วไป มากระทั่งถึงทุกวันนี้
 
เขาได้ใช้เวลาหนึ่งปีที่ มหาวิทยาลัย ของ เกททิงเคน (University of Göttingen) ในฐานะผู้ช่วยของ มากซ์ บอร์น และ อีกหนึ่งปีถัดจากนั้น ที่สถานที่ซึ่งตอนนี้กลายมาเป็น สถาบัน นีลส์ บอห์ร สำหรับฟิสิกส์ทฤษฎี (Niels Bohr Institute for Theoretical Physics) ในกรุง[[โคเปนเฮเกน]] เขาได้ใช้เวลาช่วง ปี พ.ศ. 2466 ถึง 2471 ในฐานะผู้บรรยาย ที่ มหาวิทยาลัย ของ ฮามบรูก (University of Hamburg) ในช่วงนี้เอง เพาลี ได้เป็นกุญแจสำคัญในการพัฒนา ทฤษฎีใหม่ ของ [[กลศาสตร์ควอนตัม]] เมื่อกล่าวโดยเจาะจงแล้ว เขาได้พัฒนาสูตร หลักการกีดกัน และ ทฤษฎีที่ไม่เป็นสัมพัทธภาพ ของ สปิน (nonrelativistic theory of spin) ดูเพิ่มเติมข้างล่าง สำหรับรายชื่อผลงานทางวิทยาศาสตร์ของเขา
บรรทัด 134:
[[tl:Wolfgang Pauli]]
[[tr:Wolfgang Pauli]]
[[uk:Паулі Вольфганг ЕрнстПаулі]]
[[vi:Wolfgang Ernst Pauli]]
[[zh:沃尔夫冈·泡利]]