ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Looknarm (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ links
Looknarm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
* '''สาขาสถาปัตยกรรมภายใน และมัณฑนศิลป์''' - พื้นที่ภายในอาคารสาธารณะ 500 ตารางเมตรขึ้นไป
 
จะเห็นได้ว่าขอบเขตงานที่ต้องใช้สถาปนิกที่มีใบประกอบอนุญาตวิชาชีพจากกฎกระทรวงฯฉบับล่าสุดนั้นยังเป็นไปได้ยากในการปฏิบัติ เนื่องจากจำนวนสถาปนิกที่มีใบประกอบวิชาชีพมีไม่พอกับงานที่ต้องการควบคุม (จากข้อมูลปี 2548-49 นี้ โดยเฉพาะงานสถาปัตยกรรมผังเมือง มีผู้มีใบประกอบวิชาชีพ 8 คน, งานภูมิสถาปัยกรรมภูมิสถาปัตยกรรม มีภูมิสถาปนิกที่มีใบอนุญาตเพียง 80 คน เป็นต้น)ไม่มีหน่วยงานและบุคคลากรที่ทำการตรวจสอบและดูแลการบังคับใช้ และหลายๆงานไม่จำเป็นที่จะต้องมีสถาปนิกที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพก็คงไม่ทำความเสียหาย หรือในหลายกรณีเป็นขอบเขตของงานที่รัฐมีหน้าที่จัดทำ (ตาม พรบ. หรือกฎหมายอยู่แล้ว) ซึ่งไม่จำเป็นต้องออกใบประกอบวิชาชีพแต่อย่างใด และตามเจตนารมย์ของการออกกฎกระทรวงนั้นมีวัตถุประสงค์ในการบังคับใช้กับสถาปนิกนอกระบบราชการเป็นสำคัญ ทำให้เกิดการร้องเรียนคัดค้านเกิดขึ้นจากผู้ประกอบวิชาชีพเอง นักวิชาการ และผู้เกี่ยวข้อง <ref>http://www.bangkokbiznews.com/2006/08/18/news_21375886.php?news_id=21375886 ข่าวการคัดค้านของกลุ่มภูมิสถาปนิกต่อกฎกระทรวง จาก หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ 18 สค.49</ref>, <ref>http://www.land.arch.chula.ac.th/regulation.htm การคัดค้านกฎกระทรวงกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม 2549 ของกลุ่มภูมิสถาปนิกไทย</ref>
 
 
บรรทัด 26:
 
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรม]]
[[หมวดหมู่:ภูมิสถาปัตยกรรม]]
{{โครง}}