ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำผาย นุปิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Brandy Frisky (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการตรวจลิขสิทธิ์ด้วยสจห.
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''นายคำผาย นุปิง''' (เกิด 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2463 ที่[[จังหวัดน่าน]] <ref>http://kanchanapisek.or.th/kp8/culture/nan/nan241.html</ref>) ศิลปินพื้นบ้าน มีความสามารถในการขับ[[ซอ]] สามารถเขียนบทซอที่มีสำนวนภาษาอันไพเราะ สละสลวย พร้อมทั้งเผยแพร่แนวคิดในการพัฒนาสังคม คำสอนทางพระพุทธศาสนาไปพร้อมกัน <ref>[http://www.thaiwisdom.org/p_pum/move/move_news/move_pum3.htm ราชาซอแห่งล้านนา "พ่อคำผาย นุปิง" ซาบซึ้งพระเทพฯ]</ref> เคยได้รับการประกาศเกียรติคุณซอ เมื่อ พ.ศ. 2514 ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม สาขาศิลปะ เมื่อปี พ.ศ. 2533 ในฐานะที่เป็นศิลปินที่อนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นบ้านอันเป็นมรดกการแสดงของภาคเหนือ ได้รับ
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
{{ใคร}}
'''นายคำผาย นุปิง''' เกิดเมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๘ ที่จังหวัดน่าน เป็นศิลปินพื้นบ้านที่มีความสามารถในการขับซอ ที่มีปฏิภาณ ไหวพริบเชิงปฏิภาณกวีท้องถิ่นที่ยอดเยี่ยมผู้หนึ่ง เป็นที่ยอมรับของประชาชนจังหวัดภาคเนือเป็นอันมาก จนมีคำกล่าวว่า “ ถ้าขับซอแล้วต้องซอคณะพ่อคำผาย” ทั้งยังเป็นผู้สืบสานงานวัฒนธรรมถ้องถิ่นมาโดยตลอดระยะเวลาอันยาวนาน ได้ทุ่มเทกำลังกาย กำลังใจ กำลังสติปัญญา ตลอดจนกำลังทรัพย์เพื่องานวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างแท้จริง จนได้รับการประกาศเกียรติคุณซอ เมื่อ ปีพุทธศักราช ๒๕๑๔ ได้รับโล่เกียรติคุณจากการประกวดสื่อการแสดงพื้นบ้านภาคเหนือ ในการประชาสัมพันธ์โครงการสร้างงานในชนบทของจังหวัดลำปางและด้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม สาขาศิลปะ เมื่อปี ๒๕๓๓ เป็นศิลปินที่อนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นบ้านอันเป็นมรดกการแสดงของภาคเหนือ ที่มีความสามารถผู้หนึ่ง
 
[[นายคำผาย นุปิง จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็น[[ศิลปินแห่งชาติ]] สาขาศิลปะการแสดง (การแสดงพื้นบ้าน-ขับซอ)]] ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๘พ.ศ. 2538 <ref>[http://art.culture.go.th/index.php?case=artistDetail&art_id=140&pic_id=&side=dnc_art_th คำประกาศเกียรติคุณ ศิลปินแห่งชาติ]</ref>
 
==อ้างอิง==
[['''รางวัล/เกีบรติคุณ''']]
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{ศิลปินแห่งชาติ/ศิลปะการแสดง}}
๒๕๑๔ ใบประกาศเกียรติคุณเชิดชูเกียรติ ห้างนำชัยพานิช จ.ลำปาง
๒๕๑๖ ประกาศนียบัตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
๒๕๓๒ โล่เชิดชูเกียรติงานประกวดสื่อการแสดงพื้นบ้านภาคเหนือ
๒๕๓๔ โล่เชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดน่าน
๒๕๓๔ โล่เชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมจากสมเด็จพระเทพฯ
๒๕๓๖ ปริญญากิตติมศักดิ์ วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ สหวิทยาลัยล้านน
๒๕๓๗ เครื่องราชอิสริยาภรณ์เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บม.)
๒๕๓๘ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง(การแสดงพื้นบ้าน-ขับซอ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
๒๕๔๔ "คนดีสรีภุเพียง สภาวัฒนธรรม
 
{{อายุขัย|2463||}}
'''ตัวอย่างบทซอ
[[หมวดหมู่:ชาวน่าน]]
[[
[[หมวดหมู่:นักดนตรีไทย]]
ซอ เทวทูตทั้ง 5
{{โครงชีวประวัติ}}
ศิลปิน คำผาย นุปิง''']]
 
ก่อยฟังเต๊อะนาย ตังยิงตังจายตังแก่ตังเฒ่า
บ่ว่าไผได้ ข้าเจ้า ตังฝูงปี่น้องอาวอา
ข้าจะได้ ร่ำริ ร่ำไร ใคร่จ๋า
จักใขแถมเขี้ยว เรื่องเทวทูตทั้งห้า
ยามเมื่อคนเรา ตังหลาย ตังยิงตังจาย ไพร่นายเจ้าข้า
เข้าสู่ต้องแม่ มารดา ได้มานั่งคดคู้เหมือนลิงวอกก่าง สัตว์ต๋า
ความตุ๊กขเวทนา เมื่อพระมารดา กินอาหารหดหล่อ
เจ็บแสบเจ็บฮ้อน เหลือใจ๋ นะจำเป็นทนไป เจ้าแม่เจ้าป่อ
เมื่อถูกอาหาร หดหล่อ นะบ่จ่างป้ายหนี ตังใด
ถึงสิบเดือน มาฮอด แม่ข้าเกือบขาด ใจ๋ตาย
ลมก้ำนะสวัสดิ์มาปัด ตามใน เฮาก็หลุดใหลประสูติ
ยามเมื่อออกจากต้อง พระมารดา ก็ยังมาเหม็นคาว เหม็นบูด
ยามเมื่อคนเรา ประสูติ ฝูงหมู่บิดา มารดา
ก็มาอุ้มเอา เด็กนอน ขึ้นนอนเหนือแข้ง เหนือขา
ปากั๋นส่วยล้าง กายา ฮื้อหมดตี่มา ใสใหม่
สติ นี่ก๋าธัมโม แม่แสนตุ๊กโข อันใหญ่
บางพ่อง เกิดมาใหม่ ๆ ซ้ำแข้งขอ มืองอ
มีองค์กะ ตัวตั้งบ่พร้อม พ่อปากแหว่ง หูตั๋น
บางพ่อง ตามัวดำ บ่หันวิบากไปหลัง มาไขว่
สตินี่ก๋าธัมโม ละมีแสนตุ๊กโข อันใหญ่
เหมือนกั๋น ตังเจ้าและไพร่ ยามแก่ชรา ราชโรย
มีกายาคิง ลูบเนื้อ หมดจากความงาม ความสวย
จะลุกก็ว่ายาก จะนั่งกะว่าโอ๊ย มาย่างตางส่าย หัวลั่น
กั้นลุกขึ้นดูกด้าว ลั่นหมุดลั่นงัด ตีนมือไกว่กวัดหยาบ ๆ
ซ้ำมาเหม็นเอียน เหม็นสาบ เขี้ยวฟันก็ห่าง กางยาว
โอ๊ยชรา จวดช้า นะบ่เหมือนเป็นบ่าว เป็นสาว
ผมหัวก็มาหงอก มาขาว เหมือนดอกปูนบาน ก๋างเหล่า
ตาก็มาหมอง มามัว กำลังต๋นตัวอันใดก็บ่ เหมือนเก่า
เขี้ยวก็มาหล่อน มาเว่า เนื้อหนังเหี่ยวแห้ง โยรนยาน
ยะก๋านอันใด ก็บ่ลุก มีแต่กิ๋นเป๋น ผะหมาณ
โอ๊ยหน้อชรา สงสาร ปูนตาดีจัง ดีหน่าย
จับใส่คนเฒ่า หิวของ บ่มีเงินทอง ใจ้จ่าย
ลูกหลานซ้ำแครง ใจ๋หน่าย ตึงบ่มีไผผ่อ ไผกอย
มาละ คนเฒ่า เหมือนกับขอนไม้ในเหล่า มันบ่มีเห็ดลมเห็ดฝอย
ตึงบ่มีไผไหน ใจกอย เมื่อจักต๋าคอย ตกต่ำ
คนสมัย มะเดี่ยว หันป่อหันแม่ เป๋นดีมั่ง
มีเงินทอง กองก้ำ ลูกหลานมาอวดมาห่ำ ว่าเป๋นป่อเจ้าแม่นาย
ญาติกา ปี่น้อง หากมีมากคน หลวงหลาย
เวลาข้าวของ ว่างวาย บ่เนาเขาจะตวง ถามข่าว
กิ๋น ระวังหื้อดี เน้อหมู่สาวจี๋ นารีเจ้าบ่าว
บ่ใจ่คำผาย แข้งกล่าว ตามออกธรรมะ ธรรมมา
ในนี้เงินทอง สินทรัพย์ วันดีโข่งขวาง ฮักษา
เมื่อเฮาเฒ่าแก่ ชรา เอาไว้ส่งดวงชะตา ตานคาบ
เมื่อข้าวของ ยังมี นะบ่ควรนะจะดีชุมเหล้า ชุมลาบ
บ่ควรคบหา ตางบาป กินเหล้าเหล้นภ้าย หลังลาย
อย่าเป็นนักเลง เจ้าบ่อน จ่างปาข้าวของ ฉิบหาย
เฒ่ามา ชราต๋าย บ่มีเงินมาจ๊ก มาจ่าย
จะไปอยู่กับลูก กับหลาน เฮาตึงมาจัง มาหน่าย
ยามเมื่อมีข้าวของ ใจ้จ่าย ยามเมื่อข้าวของ หมดไป
จะไปอยู่กับปี่ ก็อ้างว่าเจ็ยต้อง กั้นจะไปอยู่กับน้อง ก็อ้างว่าเจ็บใจ๋
ยามเมื่อสิ่งของ หมดไป เขาเลยบ่เอา ใจ๋ใส่
พยาธิ ตุ๊กขา ก็ซ้ำจะมาตาม มาไต่
ความเจ็บปวดเนื้อ กายา บึ๊ดก็คางเจ็บหัว
บึ๊ดก็คาง เจ็บต้อง บึ๊ดก็คางเจ็บน่อง เจ็บขา
พยาธิเจ็บหัว มัวตา บ่รู้จักมาย หายขาด
พ่องก็เป๋นหยั่งคนเสียจิต เสียใจ๋ ยามน้องไข้สัน นิบาต
บางพ่องเป็น อัมพาต พยาธิคอเหนียง คอปอง
พ่องเป๋นหิดเป็นปิลม ต๋ามมือ พยาธิร้อยแปด ปันลาย พ่องเป๋นปุ๋มปองต้องเต้อ บ่รู้ วันหาย
วันต๋ายตุ๊กใจ๋ปี่น้อง ตังหลาย ลูกหลานปอจัง ปอหน่าย
พ่องนะมาเป็นปุ๋มใส ไตเหลือง ลูกเมียก็ปออิ่ม ปอก้าย
พยาธิกิ๋นได้ ขี้ได้ ละมาเป็นบึ๊ดฮ้าย บึ๊ดดี
จนวิดก๋านหิ กานก้า มาเป๋นสี่ห้า หกปี๋
ลูกเมียนะก็เลย ละหนี ย้อนเป็นโรคฮ้าย ฝีเปื่อ
แม่ยิงเป็นลม ผิดเดือน นะก็มีเหมือน กันเจื้อ ๆ
ลูกผัวจ่างจัง จ่างเบื่อ บ่รู้จักหาย มายแควน
มาเสียเวลา เมินล้ำ ผัวบ่ได้นอบแม๊ะ นอนแถม
นะป่อเลี้ยง กะบอเสียแฮง นะบ่จ่างตกยา มาใส่
พ่องก็ออกตุ่มอี่ สุกใส นะพยาธิมา สมัยใหม่
พ่องออกฝีดาษ สุกใหญ่ นะมาต๋ามสมัย สงคราม
ปี พ.ศ.ยังว่า 89 เข้าแขว่นเดือนยี่ เดือนสาม
พ่องเป๋นสาวจี๋ ดีงาม มาเสียหน้าลาย หน้ามอด......