ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอร์สยาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับแก้ +เนื้อหา
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:AirSiam_logo.jpg|right|250px|thumb|โลโก้ สัญลักษณ์ของสายการบินแอร์สยาม]]
[[ไฟล์:Air_siam_boeing_747148_4846.jpg|right|250px|thumb|เครื่องบิน โบอิ้ง 747-148 สายการบินแอร์สยาม]]
[[ไฟล์:Dc1030_5060.jpg‎|right|250px|thumb|เครื่องบินรุ่น ดักลาส ดีซี-10-30 สายการแอร์สยาม]]
'''แอร์สยาม''' เป็นสายการบินที่มีฐานการบินใน[[ประเทศไทย]] เปิดให้บริการตั้งแต่ [[พ.ศ. 2508]] ถึง [[พ.ศ. 2519]]
 
==ประวัติ==
สายการบินแอร์สยามก่อตั้งขึ้นใน[[พ.ศ. 2508]] โดย[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช]] ภายใต้ชื่อ Varan Air-Siam แต่ได้เริ่มให้บริการในปี [[พ.ศ. 2512]] ด้วยเครื่องบิน แมคดอนเนลล์ดักลาส ดีซี-4 เนื่องจากในระยะแรกสายการบินนี้ยังไม่มีเครื่องบินให้บริการ หลังจากนั้นแอร์สยามได้เปิดเส้นทางการบินไปยัง[[ฮ่องกง]] ด้วยเครื่องบิน แมคดอนเนลล์ดักลาส ดีซี-4 หลังจากนั้นใน [[พ.ศ. 2514]] ก็ได้เปิดเส้นทางการบินระหว่าง [[กรุงเทพมหานคร]] - [[ลอส แองเจลิส]] ด้วยเครื่องบินดักลาส ดีซี-8-63 พร้อมผู้โดยสารเต็มลำ แต่เส้นทางการบินดังกล่าวได้ถูกเลิกในอีก 10 เดือนให้หลัง เพราะมีผู้โดยสารน้อยและมีการแข่งขันที่สูง<ref>Airlines Remembered by B I Hengi, published by Midland Books</ref>
 
ในระยะต่อมา สายการบินได้ใช้เครื่องบินรุ่น BAC-1-11 สำหรับเที่ยวบินไปยังฮ่องกง ต่อมาสายการบินแอร์สยามไดและได้เช่าเครื่องบิ เครื่องบินโบอิ้ง 707-131 ให้บริการเพื่อเปิดเส้นทางการบินไปยัง กรุง[[โตเกียว]] หลังจากที่สายการบินเริ่มขยายตัวนั้น ได้ได้มีการสั่งซื้อ เครื่องบินดักลาส ดีซี-10-30 1 ลำ, แอร์บัส เอ300-บี2-1ซี 1 ลำ , โบอิ้ง 747-148 2 ลำ และ โบอิ้ง 747-206(บี) 1 ลำ ในขณะเดียวกัน

ด้วยเหตุที่ธุรกิจการบินในประเทศไทยได้เจริญเติบโตอย่างหนักมาก และแอร์สยามถูกกดดันอย่างหนักจาจกานโยบายของทางรัฐบาลไทยโดย ที่จะต้องไม่มีให้สายการบินอื่นมาบินในเส้นทางเดียวกันกับ สาย[[การบินไทย]] ซึ่งเป็นสายการบินประจำชาติ นอกจากนี้สถานการณ์ดังกล่าวทำให้แอร์สยามมีต้นทุนที่สูงเกินไปมากในการให้บริการ ทำให้แอร์สยามเกิดปัญหาขาดสภาพคล่องทางการเงินอย่างหนักและได้ประกาศ[[ล้มละลาย]]ในปี [[พ.ศ. 2519]]
 
== รายละเอียดฝูงบิน ==