ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ญาบิร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Jabir_ibn_Hayyan.jpg|thumb|200px|right|15th century European portrait of "Geber", Codici Ashburnhamiani 1166, Biblioteca Medicea Laurenziana, Florence]]
 
'''อะบูมูซา ญาบิร บินฮัยยาน''' ที่ชาวตะวันตกเรียกว่า เกเบอร์ (Geber) ขึ้นชื่อลือชาว่าเป็นบิดาแห่งเคมี ท่านเป็นนักเคมีที่ยิ่งใหญ่มากตำราชื่อ Kitab al-Kimya, Kitab al-Sab'een เป็นตำราถูกแปลเป็นภาษาของยุโรบหลายภาษา เช่น [[ภาษาลาติน]] [[ภาษาฮีบรู]] [[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาเยอรมัน]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] มีอิทธิผลต่อนักเคมีชาวยุโรปต่อมาอีกหลาย ศตวรรษ
 
ญาบิร บินฮัยยาน เกิดราวปี ค.ศ. 721 และเสียชีวิตในเมืองกูฟะหฺ ประเทศอิรักราวปี ค.ศ. 815 (บ้างก็ว่า 803)หลังจากเกิดมาได้ไม่นาน บิดาของเขา ซึ่งพัวพันกับการก่อกบฏล้ม[[อาณาจักรอุมัยยะหฺ]] ก็ถูกประหารชีวิต ญาบิรถูกส่งไปแผ่นดินอารเบีย ที่นั่นเขาได้เข้านับถือมัซฮับ[[ชีอะหฺ]] และเข้าสมัครเป็นลูกศิษย์ของอิมามญะอฺฟัร [[อัศศอดิก]] ในเมืองมะดีนะหฺ เนื่องจากท่านมีความสนใจในเรื่อง[[เคมี]]และ[[คณิตศาสตร์]]เป็นทุนเดิม อิมามญะอฺฟัร จึงประสิทธิ์ประสาทวิชาของนบีมุฮัมมัดที่ไม่เคยเผยแพร่ให้ใครมาก่อน แก่ญาบิร จนได้กลายเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่เด่นที่สุดในสมัยนั้น และภายหลังได้กลายเป็นนักเคมีแห่งราชสำนักของ[[ฮารูน อัรรอชีด]]
ญาบิร บินฮัยยาน เกิดราวปี ค.ศ. 721 และเสียชีวิตในเมืองกูฟะหฺ ประเทศอิรักราวปี ค.ศ. 815 (บ้างก็ว่า 803)
 
หลังจากเกิดมาได้ไม่นาน บิดาของเขา ซึ่งพัวพันกับการก่อกบฏล้ม[[อาณาจักรอุมัยยะหฺ]] ก็ถูกประหารชีวิต ญาบิรถูกส่งไปแผ่นดินอารเบีย ที่นั่นเขาได้เข้านับถือมัซฮับ[[ชีอะหฺ]] และเข้าสมัครเป็นลูกศิษย์ของอิมามญะอฺฟัร [[อัศศอดิก]] ในเมืองมะดีนะหฺ เนื่องจากท่านมีความสนใจในเรื่อง[[เคมี]]และ[[คณิตศาสตร์]]เป็นทุนเดิม อิมามญะอฺฟัร จึงประสิทธิ์ประสาทวิชาของนบีมุฮัมมัดที่ไม่เคยเผยแพร่ให้ใครมาก่อน แก่ญาบิร จนได้กลายเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่เด่นที่สุดในสมัยนั้น และภายหลังได้กลายเป็นนักเคมีแห่งราชสำนักของ[[ฮารูน อัรรอชีด]]
 
 
เส้น 14 ⟶ 12:
แม้ว่าเขาจะลือชื่อว่าเป็นบิดาแห่งแห่งนักเคมีอาหรับเปอร์เซีย แต่นักวิชาการเชื่อว่า บุคคลที่อยู่เบื้องหลังเขาก็คือยอดอัจฉริยะ นั่นคือท่าน[[อิมามญะอฺฟัร]]ผู้เป็นปรมาจารย์
 
== ตำราและการแปล ==
 
* M. Berthelot: La chimie au moyen age (vol. 3,L'alehimie arabe, Paris,1893. The Arabic text of a few of Jabir's writings is edited by Octave Houdas. French translation, p. 126-224. See E. J.Holmyard's criticism in Isis, XI, 479-499, 1924).
* Ernst Darmstaedter: Die Alehemie des Geber (212 p., 10pl.; Berlin, 1922. German translation of the Latin treatises ascribed to Geber;reviewed by J. Ruska in Isis, V, 451-455, concluding that these Latin treatisesare apocryphal); Liber misericordiae Geber. Eine lateinisehe ubersetzung desgrosseren Kitab al-rahma (Archive fur Gesehichte der Medizin, vol. 17,181-197, 1925; Isis, VIII, 737).
 
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ญาบิร"