ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขนมเบื้อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''ขนมเบื้อง'''เป็นขนมไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ มีหลักฐานกล่า...
 
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 4:
 
== ประวัติ ==
ในสมัยพุทธกาลน่าจะมีการทำขนมเบื้องแล้ว เพราะในหนังสือ "ธรรมบทเผด็จ" กล่าวถึงเศรษฐีโกสิยะซึ่งเป็นคนตระหนี่อยากกินขนมเบื้อง จึงให้ภรรยาขึ้นไปทำขนมเบื้องบนปราสาทชั้นเจ็ดเพื่อจะได้ไม่ต้องแบ่งให้ใคร [[พระโคตมพุทธเจ้า|พระพุทธเจ้า]] จึงให้[[พระโมคคัลลานะ]]ไปขอรับบิณฑบาตรขนมเบื้อง เศรษฐีให้ทอดขนมชื้นเล็กๆถวาย แต่ทุกครั้งที่ละเลงแป้ง แป้งจะฟูขึ้นเต็มกระทะ เมื่อเสียดายให้ทำใหม่ก็เป็นแบบเดิมทุกครั้ง สุดท้ายเศรษบีเศรษฐีจึงละความพยายาม ยอมถวายขนมเบื้องไป พระโมคคัลลานะจึงเทศน์เรื่องโทษของความตระหนี่ เศรษบีและภรรขาได้บรรลุธรรมทั้งคู่ และเปลี่ยนมาเป็นคนใจบุญ
 
ใน[[พระราชนิพนธ์ 12 เดือน]]ของ[[รัชกาลที่ 5]] กล่าวถึงพิธีในเดือนอ้ายว่า {{คำพูด|กำหนดเลี้ยงขนมเบื้องนี้ว่าเมื่อพระอาทิตย์สุดทางใต้ตกนิจ เป็นวันที่หยุดจะกละบจะกลับขึ้นเหนืออยู่ในองศา 8 องศา 9 ใน[[ราศีธนู]] เป็นถึงกำหนดเลี้ยงขนม กำหนดพระสงฆ์ตั้งแต่เจ้าพระ พระราชาคณะ 80 รูป ฉันใน[[พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย]] ขนมเบื้องนั้นเกณฑ์พระบรมวงศานุวงศ์ ฝ่ายใน ท้าวนาง เจ้าจอมมารดา เถ้าแก่ พนักงานคาดปะรำ ตั้งเตาละเลงข้างท้องพระโรง}}
 
ใน[[พระราชนิพนธ์ 12 เดือน]]ของ[[รัชกาลที่ 5]] กล่าวถึงพิธีในเดือนอ้ายว่า {{คำพูด|กำหนดเลี้ยงขนมเบื้องนี้ว่าเมื่อพระอาทิตย์สุดทางใต้ตกนิจ เป็นวันที่หยุดจะกละบขึ้นเหนืออยู่ในองศา 8 องศา 9 ใน[[ราศีธนู]] เป็นถึงกำหนดเลี้ยงขนม กำหนดพระสงฆ์ตั้งแต่เจ้าพระ พระราชาคณะ 80 รูป ฉันใน[[พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย]] ขนมเบื้องนั้นเกณฑ์พระบรมวงศานุวงศ์ ฝ่ายใน ท้าวนาง เจ้าจอมมารดา เถ้าแก่ พนักงานคาดปะรำ ตั้งเตาละเลงข้างท้องพระโรง}}
== อ้างอิง ==
* สุรีย์ ดารา. วัฒนธรรมอาหารการกิน:บทพิสูจน์ฝีมือสตรีไทยสมัยก่อน. ครัว. 3(28), 92-93 ตุลาคม 2539