ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: af, ar, bg, bn, bs, ca, cs, cy, da, de, el, en, eo, es, eu, fa, fi, fo, fr, fy, gl, he, hi, hr, hu, id, io, is, it, ja, ka, ko, la, lb, lt, lv, ml, mr, nl, no, oc, pl, pt, qu, ro, ru, sco, simple, sk, sl, sr, sv, sw,
บรรทัด 6:
เอ็ดเวิร์ด เจนเนอร์ [ Edward Jenner ]
เกิด วันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1749 ที่เมืองเบิร์กเลย์ (Berglay) ประเทศอังกฤษ (England) เสียชีวิต วันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1823 ที่เมืองเบิร์กเลย์ (Berglay) ประเทศอังกฤษ (England) ผลงาน - ค้นพบวัคซีนป้องกันโรคไข้ทรพิษ (Small Pox) ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18-19 เป็นยุคที่ผู้คนต้องเผชิญหน้ากับโรคระบาดที่ร้ายแรงทั้งหลายโดยเฉพาะโรคไข้ทรพิษเป็นโรค ที่คร่าชีวิตคนไปจำนวนมาก เพราะโรคไข้ทรพิษเป็นโรคระบาดที่แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว เมื่อผู้ใดป่วยด้วยโรคนี้ก็หาทางรอด ชีวิตได้ยาก ถึงแม้ว่าจะรอดชีวิตก็อาจจะตาบอด และมีแผลที่เป็นที่น่าเกลียดติดตัวไปตลอดชีวิต โรคไข้ทรพิษเป็นโรคที่ระบาด ทั่วไปทั้งในเอเชีย ยุโรป และในอเมริกา ากรายงานฉบับหนึ่งรายงานว่าเฉพาะในประเทศเยอรมนีประเทศเดียวมีคนเสียชีวิต ด้วยโรคนี้ถึง 30,000 คนต่อปี แต่ในที่สุดโรคร้ายนี้ก็ถูกสยบลงด้วยความสามารถและความพยายามของนายแพทย์ชาวอังกฤษ นามว่า เอ็ดเวิร์ค เจนเนอร์ เขาได้พบวิธีปลูกฝีเพื่อป้องกันโรคไข้ทรพิษ และตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาผู้คนก็ไม่ต้องหวาดกลัวกับโรค ร้ายแรงชนิดนี้อีกต่อไป เจนเนอร์เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1749 ที่เมืองเบิร์กเลย์ ประเทศอังกฤษ บิดาของเขาเป็นนักบวช เจนเนอร์เป็นเด็ก ฉลาดและช่างสังเกต เขาได้ประดิษฐ์บอนลูนที่สามารถลอยขึ้นท้องฟ้าได้ แต่ไม่มีใครเชื่อว่านั้นคือสิ่งประดิษฐ์ แต่คิดว่าเกิดจากฝี ที่สิงอยู่ในบอลลูน เมื่อจบการศึกษาขั้นต้นแล้ว เข้าได้เขาศึกษาต่อในวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยเมืองบริสตอล ในปี ค.ศ. 1773 เมื่อเจนเนอร์สำเร็จการศึกษาเขาได้เข้าทำงานเป็นแพทย์ฝึกหัดกับศัลยแพทย์ประจำเมืองเบิร์กเลย์บ้านเกิดของเขานั่นเอง ต่อมา เจนเนอร์ได้เดินทางไปยังกรุงลอนดอน เพื่อศึกษาวิชาแพทย์กับศัลยแพทย์ผู้มีชื่อเสียงนามว่า จอห์น ฮันเตอร์ (John Hunter) หลังจากจบการศึกษาแล้วเจนเนอร์ได้เปิดคลีนิคส่วนตัวที่กรุงลอนดอนนั่นเอง ต่อมาในปี ค.ศ. 1792 เจนเนอร์เริ่มการค้นคว้าเกี่ยวกับโรคไข้ทรพิษ ที่กำลังแพร่ระบาดอย่างหนักอยู่ในทวีปยุโรป รวมถึง ประเทศอังกฤษ มีผู้คนที่ต้องเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่มักเป็นเด็ก วันหนึ่งเขาสังเกตเห็นว่า หญิงรีดนมวัวที่ป่วย เป็นโรคฝีดาษวัว (Cow Pox) ซึ่งเป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง ที่มีแผลพุพองตามตัว แต่หญิงรีดนมวัวเหล่านี้ไม่มีผู้ใดป่วยเป็นโรค ไข้ทรพิษแม้แต่สักคนเดียว มีเพียงพุพองนิดหน่อยเท่านั้น เจนเนอร์จึงเกิดความคิดว่าถ้านำน้ำหนองในแผลของหญิงรีดนมวัวชื่อว่า ซาราห์ เนลเมส (Sarah Nelmes) มาสกัดเป็นวัคซีน โดยการทำให้เชื่ออ่อนตัวลง เมื่อเจนเนอร์สามารถสกัดวัคซีนได้แล้ว เขาได้นำวัคซีนไปทดลองกับสัตว์หลายชนิดจนกระทั่งในวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1796 เจนเนอร์ได้นำวัคซีนนั้นมาฉีดให้กับ เจมส์ฟีพส์ (James Phipps) เด็กชายวัย 8 ขวบ โดยการกรีดผิวหนังที่แขนของเจมส์จนเป็นแผล จากนั้นจึงนำหนองฝีวัวใส่ ลงไป และถือว่านี้คือครั้งแรกของโลกที่มีการปลูกฝีขึ้น ปราฏกว่าเจมส์ป่วยเป็นไข้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น หลังจากนั้นอีกประมาณ 2 เดือน เจนเนอร์ได้นำเชื้อไข้ทรพิษมาฉีดให้กับเจมส์ ปรากฏว่าเจมส์ไม่ป่วยเป็นโรคไข้ทรพิษ เจนเนอร์ได้ทดลองวัคซีนของเขาอีก หลายครั้งจนมั่นใจว่าวัคซีนของเขาสามารถป้องกันโรคไข้ทรพิษได้ เมื่อการทดลองของเขาประสบความสำเร็จ และได้ปรับปรุงวัคซีนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นต่อมาในปี ค.ศ. 1798 เขาได้นำ รายงานผลการทดลงส่งให้กับทางราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน (Royal Society of London) แต่ปรากฏว่าทางราชสมาคม ไม่สนใจผลงานของเขาแม้แต่น้อย อีกทั้งยังส่งผลงานเขากลับคืนมาอีกด้วย แต่ถึงอย่างนั้นเจนเนอร์ก็ไม่สนใจ เขาได้ตีพิมพ์ผลงาน ของเขาด้วยเงินทุนส่วนตัว และใช้ชื่อหนังสือเล่มนี้ว่า An Inquiry into theCauses and Efects of the Variolae Vaccine มีจำนวน 75 หน้า ภายในหนังสือเล่มนี้มีรายละเอียดเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้ทรพิษ โดยการปลูกฝีที่สกัดจากน้ำหนอง ของผู้ป่วยโรคฝีดาษวัว เมื่อผลงานของเขาได้เผยแพร่ออกไป ปรากฏว่าถูกคัดค้านจากวงการแพทย์และเห็นว่าเป็นเรื่องตลก หลอกหลวงเนื่องจากเหตุการณ์เคยเกิดขึ้นมาแล้วครั้งหนึ่งที่มีสตรีในกรุงคอนสแตนติโนเปิลนามว่า แมรี่ เวิทลีย์ มอนตากูว์เกิดความ คิดว่าการป้องกันโรคไข้ทรพิษน่าจะใช้เชื่อไข้ทรพิษนั่นแหละ ดังนั้นเธอจึงนำลูก ๆ ของเธอไปให้นายแพทย์ผู้หนึ่งปลูกฝีให้ และ ลูก ๆ ของเธอก็บังเอิญไม่ป่วยเป็นโรคไข้ทรพิษและเนื่องจากเธอไม่ได้เป็นแพทย์ หรือมีความเกี่ยวกับวิชาการแพทย์ เธอจึงนำเรื่องนี้ มาบอกแก่แพทย์ชาวอังกฤษผู้หนึ่งในกรุงลอนดอน ซึ่งแพทย์ผู้นี้ก็เห็นดีด้วยจึงได้นำเชื้อไข้ทรพิษมาทำวัคซีนผลปรากฏว่าผู้ที่มา ปลูกฝี กลับป่วยเป็นโรคไข้ทรพิษและเสียชีวิตต่อมา แต่ผลงานของเจนเนอร์ประชาชนส่วนหนึ่งกลับเชื่อถือและพากันมาให้เขาปลูกฝี ปรากฏว่าการปลูกฝีของเจนเนอร์สามารถป้องกันโรคไข้ทรพิษได้เป็นอย่างดี ทำให้ผู้คนเสียชีวิตด้วยโรคไข้ทรพิษน้อยลง ผู้คนเชื่อ มั่นในตัวเจนเนอร์มากขึ้น หลังจากนั้นไม่นาน เจนเนอร์ ก็ได้รับการยอมรับจากทุกคน และจากผลงานของเขาชิ้นนี้ในปี ค.ศ. 1800 ทางรัฐสภาของประเทศอังกฤษได้รับรองผลการทดลอง และวัคซีนที่เขาผลิตขึ้น พร้อมมอบเงินให้กับเจนเนอร์ถึง 10,000 ปอนด์ เพื่อใช้ในการผลิตวัคซีนป้องกันโรคไข้ทรพิษ ต่อมาอีก 5 ปี เจนเนอร์ได้รับเงินทุน สนับสนุนอีก 20,000 ปอนด์ เพื่อใช้ในการค้นคว้าเรื่องวัคซีนต่อไป เจนเนอร์ยังทำงานค้นคว้าเกี่ยวกับวัคซีนต่อไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งเสียชีวิตเมื่อวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1823 ที่เมืองเบิร์กเลย์ ประเทศอังกฤษ หลังจากที่เขาเสียชีวิตไปแล้วทางรัฐบาลได้สร้างอนุสาวรีย์ที่จัตุรัสฟอลการ์ เพื่อเป็นอนุสรณ์ในการช่วยชีวิตของ มนุษย์ให้พ้นจากโรคร้ายแรงนี้ได้
 
[[af:Alexander Fleming]]
[[ar:ألكسندر فلمنج]]
[[bg:Александър Флеминг]]
[[bn:অ্যালেকজান্ডার ফ্লেমিং]]
[[bs:Alexander Fleming]]
[[ca:Alexander Fleming]]
[[cs:Alexander Fleming]]
[[cy:Alexander Fleming]]
[[da:Alexander Fleming]]
[[de:Alexander Fleming]]
[[el:Αλεξάντερ Φλέμινγκ]]
[[en:Alexander Fleming]]
[[eo:Alexander Fleming]]
[[es:Alexander Fleming]]
[[eu:Alexander Fleming]]
[[fa:الکساندر فلمینگ]]
[[fi:Alexander Fleming]]
[[fo:Alexander Fleming]]
[[fr:Alexander Fleming]]
[[fy:Alexander Fleming]]
[[gl:Alexander Fleming]]
[[he:אלכסנדר פלמינג]]
[[hi:अलेक्ज़ांडर फ्लेमिङ]]
[[hr:Alexander Fleming]]
[[hu:Alexander Fleming]]
[[id:Alexander Fleming]]
[[io:Alexander Fleming]]
[[is:Alexander Fleming]]
[[it:Alexander Fleming]]
[[ja:アレクサンダー・フレミング]]
[[ka:ალექსანდერ ფლემინგი]]
[[ko:알렉산더 플레밍]]
[[la:Alexander Fleming]]
[[lb:Alexander Fleming]]
[[lt:Alexander Fleming]]
[[lv:Aleksandrs Flemings]]
[[ml:അലക്സാണ്ടര്‍ ഫ്ലെമിങ്]]
[[mr:अलेक्झांडर फ्लेमिंग]]
[[nl:Alexander Fleming]]
[[no:Alexander Fleming]]
[[oc:Alexander Fleming]]
[[pl:Alexander Fleming]]
[[pt:Alexander Fleming]]
[[qu:Alexander Fleming]]
[[ro:Alexander Fleming]]
[[ru:Флеминг, Александр]]
[[sco:Alexander Fleming]]
[[simple:Alexander Fleming]]
[[sk:Alexander Fleming]]
[[sl:Alexander Fleming]]
[[sr:Александар Флеминг]]
[[sv:Alexander Fleming]]
[[sw:Alexander Fleming]]
[[ta:அலெக்சாண்டர் பிளெமிங்]]
[[tr:Alexander Fleming]]
[[uk:Александер Флемінг]]
[[ur:الیگزنڈر فلیمنگ]]
[[vi:Alexander Fleming]]
[[zh:亚历山大·弗莱明]]