เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
จบอาสาฬหะ
บรรทัด 1:
<center>
<div id="main-content">
{| width="80%" align="center" style="border:3px solid darkgray; background-color:#ffffff000000;"
<div class="wrapper">
|
<div class="content-item"><div id="g_body"><center><b></b><dl><dd><div style="text-align: right;"><div style="text-align: center;"><center> <div style="color: rgb(255, 204, 102); background-color: rgb(102, 0, 0); text-align: center;"><b><br><font size="4">วันอาสาฬหบูชา</font><br></b><font size="2">วันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๒</font><b><br><br style="background-color: rgb(255, 204, 0);"></b><div style="background-color: rgb(255, 204, 0);">
 
[[ภาพ:Buddha in Sarnath Museum (Dhammajak Mutra).jpg|300px|center|พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สัจจวิภังคสูตร|link=http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=4&A=355&Z=445&pagebreak=0]]
 
</a><p style="color: rgb(51, 51, 51);"><b>ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า <br>
ได้ประกาศอนุตตรธรรมจักรให้เป็นไปแล้ว</b></p>
<p style="color: rgb(51, 51, 51);"><b>ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้นครพาราณสี</b></p>
<p style="color: rgb(51, 51, 51);">เป็น
ธรรมจักรที่สมณะ พราหมณ์ เทพ มาร พรหม หรือใคร ๆ
ในโลกจะต้านทานให้หมุนกลับมิได้ ข้อนี้คือ การบอก การแสดง การบัญญัติ
การแต่งตั้ง การเปิดเผย การจำแนก
การทำให้แจ้งซึ่งความจริงอันประเสริฐสี่ประการคือ...</p>
<p style="color: rgb(51, 51, 51);"><b>...ทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์</b></p>
 
<p style="color: rgb(51, 51, 51);"><b>และทางทำให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์...<br>
<br>
<span class="style15">-พุทธวจนะ-</span><br><br><br></div>
</div>
 
----
 
 
<div style="color: rgb(255, 204, 102); background-color: rgb(102, 0, 0); text-align: center;"><b><br><br style="background-color: rgb(255, 204, 0);"></b><div style="background-color: rgb(255, 204, 0);">
 
[[File:User Tevaprapas-(Buddhist Proverb).jpg|730px|center|เข้าสู่หน้าผู้ใช้ปกติ|link=http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89:Tmd&oldid=1863060]]
 
<center>
{| width="80%" align="center" style="border:3px solid darkgray; background-color:#ffffff;"
|
<center>
<font color = "white">
 
{{คำพูด|
....เพราะพระพุทธเจ้า '''ได้ทรงแสดงออกซึ่งสัจธรรมอันมีคุณค่าเป็นนิรันดร์''' และได้ทำให้จริยธรรม ซึ่งมิใช่เฉพาะของอินเดียเท่านั้น แต่คือ '''ทรงทำให้จริยธรรมของมนุษยชาติก้าวหน้าไป'''. ดังนั้น '''พระพุทธเจ้าจึงทรงเป็นผู้หนึ่งในบรรดาอัจฉริยมนุษย์ทางศีลธรรมที่โลกได้เคยมีมา'''''...
|อัลเบิร์ต ชไวเซอร์ [[File:Bundesarchiv Bild 183-D0116-0041-019, Albert Schweitzer.jpg|35px]]<br>[[ภาพ:Nobel prize medal.svg|20px]] Albert Schweitzer<br>''(14 January 1875 – 4 September 1965)''}}
 
{{คำพูด|
....พระพุทธศาสนาเป็นการรวมกันของ '''ปรัชญาแบบเก็งความจริงกับวิทยาศาสตร์'''. พระพุทธศาสนานั้นสนับสนุนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และติดตามวิธีการนั้นจนถึงที่สุด ซึ่งอาจเรียกได้ว่า '''เป็นศาสนาแห่งเหตุผล'''.ในพระพุทธศาสนาเราจะได้พบคำตอบที่น่าสนใจ เช่น “จิตใจกับวัตถุคืออะไร? ระหว่างจิตใจกับวัตถุนั้นอย่างไหนสำคัญมากกว่ากัน? เอกภพเคลื่อนไปหาจุดหมายปลายทางหรือไม่? '''พระพุทธศาสนาพูดถึงเรื่องที่วิทยาศาสตร์ยังนำทางไปไม่ได้''' เพราะความจำกัดแห่งเครื่องมือของวิทยาศาสตร์, '''ชัยชนะของพระพุทธศาสนาเป็นชัยชนะทางจิตใจ'''...
|เบอร์ทรันด์ รัสเซล [[File:Russell1907-2.jpg|35px]]<br>[[ภาพ:Nobel prize medal.svg|20px]] Bertrand Russell<br>''(18 May 1872 – 2 February 1970)''}}
 
 
{{คำพูด|
....ข้าพเจ้ามีความเชื่ออย่างมั่นเหมาะว่า '''พระพุทธศาสนาหรือคำสอนของพระพุทธเจ้านั้น ได้บรรลุความอุดมสมบูรณ์ที่สุดในประเทศอินเดีย''' ...
 
....เพราะคำที่พวกเราได้นำเอาหลักคำสอนของพระองค์มาใช้ในชีวิตจริง พวกเราจึงควรถวายการอภิวาทสดุดีแด่พระองค์ว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระบรมครูของมวลมนุษย์ '''ตลอดเวลาที่โลกนี้ยังดำรงอยู่ ข้าพเจ้ามั่นใจ อย่างไม่หลงเหลือความเคลือบแคลงเลย แม้แต่น้อยว่า พระองค์จะทรงดำรงฐานะ ปรมาจารย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของมวลมนุษยชาติ'''...
|มหาตมา​คานธี [[ภาพ:Gandhi 1944.jpg|35px|link=http://www.buddhistchannel.tv/index.php?id=8,2823,0,0,1,0]]<br>[[ภาพ:Nobel prize medal.svg|20px]] Mohandas Karamchand Gandhi<br>''(2 October 1869–30 January 1948)''}}
 
{{คำพูด|
....'''ศาสนาในอนาคต จะต้องเป็นศาสนาสากล ศาสนานั้นควรอยู่เหนือพระเจ้าที่มีตัวตน และควรจะเว้นคำสอนแบบสิทธันต์''' (คือเป็นแบบสำเร็จรูปที่ให้เชื่อตามเพียงอย่างเดียว) '''และแบบเทววิทยา''' (คืออ้างเทวดา เป็นหลักใหญ่) ศาสนานั้นเมื่อครอบคลุมทั้งธรรมชาติและจิตใจ จึง'''ควรมีรากฐานอยู่บนความสำนึกทางศาสนาที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ต่อสิ่งทั้งปวง คือ ทั้งธรรมชาติและจิตใจ''' อย่างเป็นหน่วยรวมที่มีความหมาย '''พระพุทธศาสนาตอบข้อกำหนดนี้ได้''' '''ถ้าจะมีศาสนาใดที่รับมือได้กับความต้องการทางวิทยาศาสตร์สมัยปัจจุบัน ศาสนานั้นก็ควรเป็น "พระพุทธศาสนา"'''...
|อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ [[ภาพ:Einstein1921 by F Schmutzer 2.jpg|35px]]<br>[[ภาพ:Nobel prize medal.svg|20px]] Albert Einstein<br>''(14 March 1879–18 April 1955)''}}
 
{{คำพูด|
....ข้าพเจ้า... ได้ถวายอภิวาทด้วยเศียรเกล้า แด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ที่ข้าพเจ้ายอมรับนับถือด้วยใจจริง ในฐานะ '''มหาบุรุษ ซึ่งยากนักหนาจะอุบัติขึ้นในโลกนี้''' ... ในนานาประเทศที่ไกลโพ้น ชนทั้งหลายต่างยินดีปรีดาร่วมฉลองการเสด็จมาของพระองค์ พวกเขาประกาศยืนยันว่า เพิ่งได้เคยพบเคยเห็น '''อุตมบุรุษผู้รุ่งเรืองสว่างไสว ดั่งดวงอาทิตย์ ซึ่งอุทัยขึ้นมาขับม่านเมฆ แห่งความมืดมนให้ปลาสนาการไป''' ฉะนั้น...
|รพินทรนาถ ฐากูร [[ภาพ:Tagore3.jpg|35px]]<br>[[ภาพ:Nobel prize medal.svg|20px]] Rabindranath Tagore<br>''(7 May 1861–7 August 1941)''}}
 
[[พุทธศาสนสุภาษิต|<font color="white">-''พุทธวจนะ''-</font>]]
</center>
|}
</center>
 
<br><br>
 
[[หมวดหมู่:ผู้เขียนบทความคัดสรร]]