ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปรียญธรรม 4 ประโยค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17:
มงคลสูตรเป็นคำสอนประเภทเนยยะ คือมีข้อความเป็นร้อยแก้ว ผสมร้อยกรอง
 
ผู้รจนาคัมภีร์มังคัลตถทีปนี คือ '''พระสิริมังคลาจารย์'''<ref>พระสิริมังคลาจารย์. ''มงคลทีปนี''. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐</ref> พระภิกษุชาวเมือง[[เชียงใหม่]] มีอายุอยู่ประมาณ[[พุทธศตวรรษที่ 20|พุทธศตวรรษที่ ๒๐]] ผลงานของท่านจากหลักฐานแสดงประวัติ มีอยู่สี่เรื่องคือ '''เวสสันดรทีปนี จักกวาฬทีปนี สังขยาปกาสกฎีกา มังคลัตถทีปนี'''
 
ประวัติของท่านปรากฏอยู่ในตอนท้ายผลงานของท่าน มีใจความว่า เป็นผู้ทรง[[พระไตรปิฎก]] มีศรัทธาความรู้ปรารถนาให้ตนและผู้อื่นมีความรู้ ได้รจนาคัมภีร์เวสสันตรทีปนี จักกวาฬทีปนี สังขยาปกาสกฎีกา ขณะพักอยู่ที่วัดสวนขวัญ อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ[[วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร]]ในเมืองเชียงใหม่ และรจนามังคลัตถทีปนีในขณะที่พักอยู่ที่สุญญาคาร ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศใต้ 1 คาวุต ในช่วงปี [[พ.ศ. 2060]] - [[พ.ศ. 2067]] ในสมัยของท้าวลก เข้า[[นครเชียงใหม่]] อันเป็นนครที่มีความเจริญอย่างยิ่ง ผู้มีพระราชศรัทธาล้ำเลิศ ปรารถนาพระสัพพัญมุตญาณเลื่อมในใน[[พระพุทธศาสนา]]