ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังฆกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ใช้ภาพจากคอมมอนส์
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{พุทธศาสนา}}
[[ไฟล์:BuddhistBhikku monkUpasampata in Buddhist church.jpgJPG|170px|left|thumb|สังฆกรรมคือการประชุมของพระสงฆ์เพื่อทำกิจตามพระวินัย เพื่อลงมติในเรื่องสำคัญต่าง ๆ เช่น การอนุมัติให้ผู้ขอบวชเป็นพระสงฆ์ การขอลงมติเพื่อมอบผ้ากฐินให้แก่พระภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง หรือการประกาศเขตสีมาตามพระวินัย เป็นต้น]]
'''สังฆกรรม''' แปลว่า ''กรรมอันสงฆ์พึงทำ'' หมายถึงกิจกรรมทางพระวินัยที่[[ภิกษุ]]จำนวน ๔ รูปขึ้นไปซึ่งถือว่าเป็น[[สงฆ์]]จะพึงร่วมกันทำเป็น[[สังฆสามัคคี]] ในการทำสงฆ์จะต้องพร้อมเพรียงกันทำ ต้องทำใน[[เขตสีมา]]ที่เรียกว่า[[อุโบสถ]]หรือโบสถ์ ต้องนั่งให้ได้[[หัตถบาท]]อยู่ในที่ประชุมตลอดเวลาที่ทำ เวลามีมติต้องเป็นเอกฉันท์โดยใช้วิธีเงียบหรือรับว่า[[สาธุ]] และเป็นไปโดยถูกต้องเป็นธรรม ไม่มีอคติ เช่นนี้จึงจะเป็นสังฆกรรมแท้
 
บรรทัด 8:
คนทั่วไปนำเอาคำ “สังฆกรรม” มาใช้ในความหมายว่า “การร่วมกันกระทำกิจกรรม” กล่าวเข้าใจง่ายๆก็คือการที่ไม่มีใครคบค้าสมาคมด้วยหรือไม่มีใครอยากร่วมสังสรรค์ด้วย เรียกว่า “ไม่ร่วมสังฆกรรม” ถ้าเป็นภาษาอังกฤษทางวิชาการด้านสังคมและเศรษฐกิจทั่วๆ ไปจะหมายถึง Boycott ซึ่งภาษาไทยอีกคำหนึ่งแปลว่า “คว่ำบาตร” ซึ่งก็มีที่มาจากเรื่องทางพุทธศาสนาเช่นกัน
 
== อ้างอิง ==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''''' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๔๘