ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนไปใช้เลขอารบิก +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 10:
 
== ประเภทการเทศน์แบ่งตามทำนอง ==
การเทศน์ว่าโดยทำนองมี 2 แบบ คือ
 
# '''เทศน์ธรรมวัตร''' คือเทศน์โดยในเสียงและทำนองเป็นปกติเหมือนอ่านหรือพูดธรรมดา ไม่ได้ออกเสียงและทำนองไพเราะด้วยการขับขาน มุ่งให้เข้าใจในเนื้อหาธรรมะเพื่อให้นำไปปฏิบัติได้เป็นสำคัญ เรียกว่า เทศน์ทำนองธรรมวัตร ก็ได้
บรรทัด 23:
{{คำพูด|...ขดานหินตั้งหว่างกลางไม้ตาลนี้ วันเดือนดับ เดือนโอกแปดวัน วันเดือนเต็ม เดือนบ้างแปดวัน ฝูงปู่ครู เถรมหาเถรขึ้นนั่งเหนือขดานหีนสูดธรรมแก่อูบาสกฝูงท่วยจำศีล ผี้ใช่วันสูดธรรม...
 
...ขดานหีนนี้ ชื่อมนังคศีลาบาตร สถาบกไว้นี่ จี่งทังหลายเห็น...|คำอ่านศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ด้านที่ 3<ref>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดทำเนื่องในโอกาส ๗๐๐700 ปี ลายสือไทย กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.๒๕๒๗2527</ref><ref>[http://scitech.rmutsv.ac.th/majorSci/generalstudy/sila.doc คุณค่าและภาษาในศิลาจารึกหลักที่ 1 - อลิสา เลี้ยงรื่นรมย์ ]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช. เรียกข้อมูลเมื่อ 17-6-52</ref>}}
 
จากหลักฐานดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การเทศนาธรรมบนอาสนะสูงใหญ่ของพระสงฆ์ได้มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย<ref>[http://www.sukhothai.go.th/history/hist_08.htm ศิลาจารึก]. กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวัดสุโขทัย. 5-7-52</ref> โดยนิยมมีพิธีเทศนาในวันธรรมสวนะ ซึ่งประเพณีเทศนาธรรมก็ยังคงมีอยู่ตามวัดต่าง ๆ จนในปัจจุบันนี้
บรรทัด 30:
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. 9 [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''''' [[วัดโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
{{จบอ้างอิง}}
{{เรียงลำดับ|ทเทศน์}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เทศน์"