ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสรณ์สถานแห่งชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ภาพ:NationalMemorial.jpg|thumb|200px|อนุสรณ์สถานแห่งชาติ]]
 
'''อนุสรณ์สถานแห่งชาติ''' สร้างขึ้นในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี เพื่อเป็นอนุสรณ์ของแด่บูรพมหากษัตริย์และวีระชนไทยผู้เสียสละชีวิตเพื่อประเทศชาติ ตั้งอยู่บริเวณสามแยกดอนเมือง ช่วง[[ถนนวิภาวดีรังสิต]] บรรจบกับ[[ถนนพหลโยธิน]] ตำบลคูคต [[อำเภอลำลูกกา]] [[จังหวัดปทุมธานี]] ในพื้นที่ 38 ไร่ 1 งาน 97 ตารางวา ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกองประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 31:
[[ส่วนที่ 1 ลานประกอบพิธี]] เป็นพื้นที่สำหรับตั้งแถวทหารกองเกียรติยศได้ 3 กองร้อย เพื่อต้อนรับประมุข หรือบุคคลสำคัญของประเทศและต่างประเทศที่มาเยือนอนุสรณ์สถานแห่งชาติอย่างเป็นทางการ นอกจากนี่ยังใช้สำหรับวางพวงมาลาในพิธีสำคัญต่างๆ บนลานประกอบพิธีประดับธงกองบัญชาการกองทัพไทย ธงกองทัพยก ธงกองทัพเรือ ธงกองทัพอากาศ ธงสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และธงกองอาสารักษาดิแดน ส่วนด้านข้างประดับธงชาติไทยสลับกับธงชาติของประเทศที่มาเยือน
[[ส่วนที่ 2 อาคารประกอบพิธี]]
แล้วเสร็จเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๓๓ เป็นอาคารชั้นเดียว หลังคาทรงไทย ขนาดกว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๐ เมตร ใช้สำหรับประกอบพิธีทางศาสนาและพิธีสำคัญของชาติ มีสิ่งสำคัญดังนี้
1. ดวงโคมนิรันดร์ประภา
2. พระบรมรูปมหาราช ๙ พระองค์
3. บทโคลงพระราชนิพนธ์
4. ภาพการก่อตั้งราชธานี
5. ภาพมงคลแปด
6. ภาพเครื่องราชอิสริยาภรณ์
 
ใต้ดวงโคมนิรันดร์ประภาบรรจุดินจากสมรภูมิสำคัญในอดีต รวม 10 แห่ง ได้แก่
 
* ดินสมรภูมิไทยรบเขมรขอม สมัยสุโขทัย
 
* ดินสมรภูมิไทยรบพม่า ในสงครามยุทธหัตถี พ.ศ. 2135
เป็นสถาปัตยกรรมแบบใหม่ คล้ายโดมแต่มียอดเรียวแหลมกว่า มีซุ้มประตู 4 ด้าน ตั้งอยู่บนฐานลอย มีเนินดินกว้างใหญ่รองรับฐานลอยก่อด้วยอิฐโปร่ง มีประตูเดินทะลุถึงกัน 4 มุม การออกแบบมุ่งประโยชน์ใช้สอยเอนกประสงค์ ออกแบบและควบคุมงานก่อสร้างโดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
* ดินสมรภูมิไทยรบพม่า ในศึกบางระจัน พ.ศ. 2308
 
* ดินสมรภูมิไทยรบพม่า ที่ค่ายโพธิ์สามต้น พ.ศ. 2310
ภายในอนุสรณ์สถานแห่งชาติ นอกจะบรรจุอัฐิของวีรชนไทยแล้ว ยังบรรจุดินจากสมรภูมิสำคัญในอดีต รวม 10 แห่ง ได้แก่
* ดินสมรภูมิไทยรบพม่า ที่ตำบลบางแก้ว ราชบุรี ในศึกบางแก้ว พ.ศ. 2317
* ดินสมรภูมิไทยรบพม่า ที่ทุ่งลาดหญ้า กาญจนบุรี ในสงคราม 9 ทัพ พ.ศ. 2328
เส้น 42 ⟶ 50:
* ดินสมรภูมิไทยรบพม่า ที่เมืองเชียงใหม่ พ.ศ. 2345
* ดินสมรภูมิไทยรบพม่า ที่เมืองเชียงแสน พ.ศ. 2347
* ดินสมรภูมิไทยรบลาว ที่ทุ่งสัมฤทธิ์ นครราชสีมา พ.ศ. 2369
 
* ดินสมรภูมิไทยรบเขมร สมัยสุโขทัย
 
* ดินสมรภูมิไทยรบพม่า ในสงครามยุทธหัตถี พ.ศ. 2135
* [[ส่วนที่ 3 อาคารประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ทหาร]]
* ดินสมรภูมิไทยรบพม่า ในศึกบางระจัน พ.ศ. 2308
มีลักษณะคล้ายป้อมค่ายหอรบสมัยโบราณ ด้านหน้าของอาคารนี้ประดิษฐานพระบรมรูป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานกำเนิดกองทัพไทยสมัยใหม่ ประทับยืนอยู่ในชุดฉลองพระองค์เต็มยศจอมพลทหารบก ขนาดหนึ่งเท่าครึ่งของพระองค์จริง โดยสลักจากหินอ่อน
* ดินสมรภูมิไทยรบพม่า ที่ค่ายโพธิ์สามต้น พ.ศ. 2310
ภายในอาคารประวัติศาสตร์ และพิพิธภัณฑ์ทหาร มีการจัดแสดงกิจกรรมต่าง ๆ ทั้ง 4 ชั้น ดังนี้
ชั้นที่ 1
จัดเป็นห้องเกียรติยศตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เพื่อเชิดชูเกียรติและวีรกรรมของทหาร ตำรวจ และพลเรือน ที่ปฏิบัติการรบด้วยความกล้าหาญ จนได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี และเหรียญกล้าหาญ เพื่อปลุกใจให้อนุชนรุ่นหลังได้รำลึกถึง และ จัดแสดงหุ่นจำลองเหตุการณ์สงครามสมัยใหม่ที่กองทัพไทยได้ปฏิบัติการรบครั้งสำคัญ 5 สงคราม คือ
(1) สงครามโลกครั้งที่ 1
จำลองเหตุการณ์ กองทหารไทยสวนสนามผ่านประตูชัย ณ กรุงปารีส
(2) กรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส
จำลองเหตุการณ์ ยุทธนาวีที่เกาะช้าง
(3) สงครามมหาเอเซียบูรพา
จำลองเหตุการณ์ วีรกรรมกองบินน้อยที่ 5
(4) สงครามเกาหลี
จำลองเหตุการณ์ การรบที่เขาพอร์คชอพ
(5) สงครามเวียดนาม
จำลองเหตุการณ์ การรบในป่า
 
 
ชั้นที่ 2
รอบกำแพงได้จารึกนามผู้กล้าหาญซึ่งเสียชีวิตจากการรบ เพื่อป้องกันประเทศในสงครามต่าง ๆ รวมทั้งผู้ปฏิบัติการป้องกันผู้ก่อการร้ายภายในประเทศ รวมจำนวนขณะนี้ 6,121 ชื่อ
ภายในอาคารชั้นที่ 2 เป็นห้องพิพิธภัณฑ์เฉลิมพระเกียรติจอมทัพไทย
 
ชั้นที่ 3
จัดแสดงหุ่นจำลองเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ ๑๔ เหตุการณ์
 
ชั้นที่ 4
จัดแสดงเครื่องแบบ เครื่องหมายยศ และส่วนประกอบของเครื่องแบบทหาร โดยมีการจัดแสดงดังนี้
1. จัดแสดงเครื่องแบบ เครื่องแต่งกายโดยใช้หุ่นจัดแสดง และภาพประกอบ แบ่งการจัดแสดงออกเป็น ๖ สมัยคือ สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น และสมัยปัจจุบัน จนวน ๑๕ หุ่น
2. จัดแสดงส่วนประกอบของเครื่องแบบ เช่น หน้าหมวก อินทรธนู เครื่องหมายยศ กระดุม เครื่องหมายเหล่า และเครื่องหมายสังกัด
3. จัดแสดงหุ่นเท่าคนจริงแต่งเครื่องแบบเต็มยศ จำนวน ๔ หุ่น คือ หุ่นทหารบก หุ่นทหารเรือ หุ่นทหารอากาศ และหุ่นตำรวจ
4. การนำเสนอข้อมูลด้วยเครื่องจักรคำนวน และวีดิทัศน์ เกี่ยวกับวิวัฒนาการของเครื่องแบบ เครื่องหมายยศ และเครื่องประกอบการแต่งกายของทหารตำรวจ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
 
 
{{ภาพถ่ายทางอากาศ|url=http://maps.google.com/maps?t=k&q=Thailand&ll=13.951581,100.621473&spn=0.005008,0.010729&t=k}}
 
 
ภายในบริเวณอนุสรณ์สถานแห่งชาติประกอบด้วยอาคารต่างๆ โดยมีอาคารหลัก ๓ อาคาร ได้แก่
* อาคารประกอบพิธี และ ลานประกอบพิธี
* อาคารภาพปริทรรศน์
* อาคารประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ทหาร