ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เผ่า ศรียานนท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Brandy Frisky (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
}}
 
'''พลโท พลเรือโท พลอากาศโท พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์'''{{อ้างอิง}} <!-- ยศ บ้าบออะไรมากมาย --> อดีตอธิบดี[[กรมตำรวจ]] พ.ศ. 2494 - 2500 เจ้าของคำขวัญ "ภายใต้ดวงอาทิตย์นี้ ไม่มีสิ่งใดที่ตำรวจไทยทำไม่ได้" เป็นบุคคลหนึ่งที่มีบทบาททางการเมืองสูงมากในช่วงก่อนการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500|รัฐประหาร พ.ศ. 2500]]{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 49:
พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ เป็นนายตำรวจที่ประชาชนชาวไทยในยุคสมัยนั้นรู้จักเป็นอย่างดี เนื่องจากเป็นเสมือนมือขวาของ[[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็น นายกรัฐมนตรี[[เผด็จการทหาร]]ในสมัยนั้น เริ่มแรก พล.ต.อ.เผ่านั้นรับราชการเป็นทหารมาก่อน ก่อนจะย้ายตัวเองมาเป็นตำรวจ
 
ยุคของพล.ต.อ.เผ่านั้น ถูกเรียกว่ายุค ''"รัฐตำรวจ"'' หรือ ''"อัศวินผยอง"'' เนื่องจาก พล.ต.อ.เผ่า ได้เสริมสร้างขุมกำลังตำรวจจนสามารถเทียบเท่ากับกองทัพ ๆ หนึ่งเหมือนทหารได้ โดยเริ่มให้มี ตำรวจน้ำ, ตำรวจพลร่ม, ตำรวจม้า, ตำรวจ[[รถถัง]] ตลอดจนให้มี[[ธงไชยเฉลิมพล]]เหมือนทหาร{{อ้างอิง}} จนมีการกล่าวในเชิงประชดว่า อาจจะมีถึงตำรวจ[[เรือดำน้ำ]] เป็นต้น{{อ้างอิง}}<ref>หนังสือชีวลิขิต โดย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช </ref> โดยประโยคที่สะท้อนให้เห็นถึงตัวตนของตำรวจในสมัยนั้น ซึ่งเป็นประโยคของพล.ต.อ.เผ่าเอง คือ ''"ภายใต้[[พระอาทิตย์|ดวงอาทิตย์]]นี้ ไม่มีสิ่งใดที่ตำรวจไทยทำไม่ได้"'' จนได้รับฉายาจากสื่อต่างประเทศว่า ''"บุรุษเหล็กแห่ง[[เอเซีย]]"''{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}<ref>หนังสือ [[ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน]] โดย [[ วินทร์ เลียววาริณ ]]</ref>
 
ในทางการเมือง พล.ต.อ.เผ่า มีฐานะเป็นเลขาธิการ[[พรรคเสรีมนังคศิลา]]ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ใน[[การเลือกตั้งในประเทศไทยครั้งที่ 9|การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500]] ซึ่งเป็นการเลือกตั้งที่ถูกกล่าวว่าสกปรกที่สุดใน[[ประวัติศาสตร์]]{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}<ref>หนังสือ [[ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน]] โดย [[ วินทร์ เลียววาริณ ]]</ref>
เพราะมีตั้งแต่การข่มขู่ผู้ลงคะแนนให้เลือกแต่พรรคเสรีมนังคศิลา มีการเวียนเทียนลงคะแนนกันหลายรอบ ที่เรียกว่า พลร่ม หรือ ไพ่ไฟ และนับคะแนนกันถึง 7 วัน 7 คืน{{อ้างอิง}}<ref>หนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ</ref> โดยในยุคนั้นประชาชนทุกคนต่างรู้ดีว่า ไม่ควรจะกระทำการใดที่เป็นการต่อต้านอำนาจรัฐเพราะอาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ เช่น [[คดีสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492|กรณีสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรี]]ที่[[ถนนพหลโยธิน]] กิโลเมตรที่ 13 เมื่อปี [[พ.ศ. 2492]]{{อ้างอิง}} หลังเหตุการณ์[[กบฏวังหลวง]] หรือการจับถ่วงน้ำ[[หะยีสุหรง อับดุลกาเดร์]] ผู้นำ[[อิสลาม]][[จังหวัดปัตตานี]] ที่[[ทะเลสาบสงขลา]] เป็นต้น ล้วนแต่เป็นฝีมือตำรวจ{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}<ref>หนังสือ [[ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน]] โดย [[ วินทร์ เลียววาริณ ]]</ref>
โดย พล.ต.อ.เผ่า และเป็นที่รับรู้กันว่าตำรวจเป็นผู้เลี้ยงบรรดานักเลง อันธพาลในยุคนั้นเป็นลูกน้องด้วย ซึ่งเรียกกันว่า ''"นักเลงเก้ายอด"'' อันมาจากการที่นักเลงอันธพาลเหล่านั้นสามารถเข้าออกกองบัญชาการ[[กองปราบปราม|ตำรวจกองปราบ]]ที่[[สามยอด]]ได้โดยสบาย{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}<ref>หนังสือ 2484 ญี่ปุ่นบุกไทย โดย ส.คลองหลวง</ref> ซึ่งทำให้เหล่านักเลงอันธพาลเกลื่อนเมือง
 
จากเหตุการณ์ทั้งหมดนี้ ส่งผลให้กลุ่มนายทหารที่นำโดย [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|พลเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ไม่พอใจ โดยเริ่มทำการปราศรัยโจมตีตำรวจที่ท้อง[[สนามหลวง]]บนลังสบู่ ที่เริ่มกันว่า ''"<ref>หนังสือ [[ไฮปาร์คประชาธิปไตยบนเส้นขนาน]] โดย [[ วินทร์ เลียววาริณ ]]</ref>"'' และทางตำรวจก็ตอบโต้ด้วยการไฮปาร์คบ้าง จนในที่สุดนำไปสู่การรัฐประหารเมื่อวันที่ [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500|16 กันยายน พ.ศ. 2500]] ซึ่งเหตุการณ์ในวันนั้น พล.ต.อ.เผ่า ยังไม่ได้หลบหนีไปต่างประเทศเหมือนจอมพล ป. แต่ยอมเข้ามอบตัวแต่โดยดี โดยกล่าวว่า ''"อั๊วมาแล้ว จะเอายังไงก็ว่ามา"''{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}<ref>นิตยสาร all ฉบับเดือนมกราคม พ.ศ. 2550</ref>
 
วันรุ่งขึ้น พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ ได้ลี้ภัยการเมืองไปอยู่ที่[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]]{{อ้างอิง}}<ref>นิตยสาร all ฉบับเดือนมกราคม พ.ศ. 2550</ref> พล.ต.อ.เผ่า มีทรัพย์สินอยู่มากมาย มี[[คฤหาสถ์]]หลังใหญ่ติด[[ทะเลสาบ]]ที่กรุง[[เจนีวา]] (ซึ่งเชื่อกันว่ามีที่มาจากการลักลอบค้าฝิ่นเถื่อนขณะเป็นอธิบดีกรมตำรวจ{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}) จนครั้งหนึ่งเมื่อนิตยสารต่างประเทศฉบับหนึ่งจัดอันดับมหาเศรษฐี 10 อันดับของโลก ก็มีชื่อของ พล.ต.อ.เผ่า ติดอยู่ในอันดับด้วย{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}<ref>นิตยสาร all ฉบับเดือนมกราคม พ.ศ. 2550</ref>
 
== ถึงแก่กรรม ==