ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ถั่ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ภาพ Alysicarpus_vaginatum.jpg ด้วย Starr_050419-0368_Alysicarpus_vaginalis.jpg จากวิกิพีเดียคอมมอนส์
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 23:
ภาพ:Starr_050419-0368_Alysicarpus_vaginalis.jpg|Loment of ''[[Alysicarpus|Alysicarpus vaginalis]]''
</gallery>
== การนำพืชตระกูลถั่วไปใช้ประโยชน์ ==
การใช้ประโยชน์จากพืชตระกูลถั่วที่สำคัญคือการใช้เป็น[[ปุ๋ยพืชสด]] ซึ่งการใช้ปุ๋ยพืชสดจากพืชตระกูลถั่วมีได้ 2 แบบคือ<ref>สมศักดิ์ วังใน. การตรึงไนโตรเจน: ไรโซเบียม -พืชตระกูลถั่ว. กทม. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2541</ref>
* ปุ๋ยพืชสดสำหรับพืชไร่บนดินดอน พืชตระกูลถั่วที่นำมาใช้ได้ ต้องมีเมล็ดแข็งแรง งอกง่าย โตเร็ว แข่งกับ[[วัชพืช]]ได้ดี ออกดอกได้เร็ว ง่ายต่อการไถสับกลบลงในดิน ต้านทานต่อโรคพืช พืชตระกูลถั่วที่นิยมใช้เป็นปุ๋ยพืชสดคือ [[ปอเทือง]] [[ถั่วพุ่ม]]และ[[ถั่วพร้า]]
* ปุ๋ยพืชสดสำหรับในนาข้าวและที่ลุ่ม ซึ่งต้องมีคุณสมบัติเพิ่มเติมคือ องทนต่อสภาพน้ำขัง อายุสั้น ไม่ไวต่อแสง นิยมใช้พืชที่เกิดปมบนลำต้น เช่น [[โสนแอฟริกัน]]
ในปัจจุบันมีความพยายามนำวัชพืชที่เป็นพืชตระกูลถั่วมาใช้เป็นปุ๋ยพืชสด เพราะวัชพืชเหล่านี้จะติดปมรากได้ดีกว่า ไม่ต้องคลุกเชื้อไรโซเบียม มีเมล็ดมากอยู่แล้วตามธรรมชาติ <ref>จักรกฤษณ์ หอมจันทร์ และสงัด ปัญญาพฤกษ์. 2540. การติดปมข้ามระหว่างวัชพืชตระกูลถั่วกับถั่วเศรษฐกิจ. วารสารวิจัยมข. 2(2):62 -71</ref> วัชพืชตระกูลถั่วที่ถูกเสนอให้ใช้เป็นปุ๋ยพืชสด ได้แก่ [[โสนขน]] ซึ่งพบทั่วไปตามที่ลุ่ม เหมาะที่จะใช้เป็นปุ๋ยพืชสดในนาข้าว<ref>นิวัต เหลืองชัยศรี. 2543. โสนขน: วัชพืชตระกูลถั่วอีกทางเลือกสำหรับทำปุ๋ยพืชสด. วารสารศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 8(2): 42-45</ref>
== อ้างอิง ==
<references />
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{wikispecies|Fabaceae}}