ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pitt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 69:
# นาย[[ปิยบุตร ชลวิจารณ์]] - รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
# นายแพทย์[[พลเดช ปิ่นประทีป]]- รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (7 มี.ค. 50)
 
== การปฏิบัติงานของรัฐบาล ==
* วางยุทธศาสตร์ประชาชนอยู่ดีมีสุข โดยเน้นการพัฒนาคนและครอบครัวให้พึ่งพาตนเองได้ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีงบประมาณส่วนกลาง 5000 ล้านบาท ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ประสานงานจากส่วนกลางสู่ชุมชน <ref>[www.tro.moph.go.th/download/vara5.1-3_2550.ppt]</ref>
 
=== วัฒนธรรม ===
* ห้ามการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด แต่สามารถโมษณาได้ในเวลา22.00เป็นต้นไป <ref>The Nation, [http://nationmultimedia.com/2006/10/31/national/national_30017578.php NHSO backs plan to ditch Bt30 fee], 31 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549</ref>
* ออกมาตรการคุมเข้มไม่ให้เยาวชนอายุต่ำกว่า 20 ปี เต้น[[โคโยตี้]] <ref>The Nation, [http://nationmultimedia.com/breakingnews/read.php?newsid=30017866 No 'coyote dances' for Loy Krathong: Culture Ministry], 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549</ref>
 
=== สาธารณสุข ===
* ยกเลิกโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค เปลี่ยนเป็น รักษาฟรีทุกโรค และให้คนไทยห่างไกลจากโรค <ref>The Nation, [http://nationmultimedia.com/2006/10/31/national/national_30017578.php NHSO backs plan to ditch Bt30 fee], 31 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549</ref>
 
=== พลังงาน ===
* ยกเลิกแผนการนำเข้าพลังงานไฟฟ้าและก๊าซธรรมชาติจากประเทศพม่า <ref>Asia Times, [http://www.atimes.com/atimes/Southeast_Asia/HK14Ae02.html Unplugging Thailand, Myanmar energy deals], 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549</ref>
 
=== การศึกษา ===
* ให้โรงเรียนดัง 430 โรงเรียนทั่วประเทศ รับเด็กนักเรียนจากพื้นที่ใกล้เคียงจำนวนครึ่งหนึ่ง ส่วนโรงเรียนอื่นจะต้องรับนักเรียนเข้าทั้งหมดโดยไม่มีการสอบ หากมีผู้สมัครเกินจำนวนที่รับ ให้ใช้วิธีจับสลาก <ref>The Nation, [http://nationmultimedia.com/breakingnews/read.php?newsid=30018847 Famous schools ordered to take in half of new students from neighbourhood], 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549</ref>
 
=== สิทธิมนุษยชน ===
* ยกเลิกคำสั่งคณะปฏิรูปฯเรื่องห้ามการชุมนุมประท้วง แต่ยังไม่ยกเลิก[[กฎอัยการศึก]] <ref>The Nation, [http://nationmultimedia.com/breakingnews/read.php?newsid=30018522 NLA revokes ban on demonstrations], 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549</ref>
* การสั่งห้ามคนขับรถแท็กซี่ และมอเตอร์ไซค์รับจ้างในกรุงเทพเข้าร่วมการประท้วงคณะเผด็จการ/รัฐบาลทหาร สมัชชาคนจนหลายพันคนถูกสกัดกั้นไม่ให้เข้าร่วมการประท้วงในกรุงเทพฯโดยอ้างว่าพวกเขาไม่มีใบอนุญาตให้เดินทางตามกฎอัยการศึก (ซึ่งยังมีผลครอบคลุม 30 กว่าจังหวัดในเวลานั้น) <ref>The Nation, [http://nationmultimedia.com/breakingnews/read.php?newsid=30038247 Some 1,000 villagers prevented from catching buses to Bangkok]</ref>
* สิทธิชัย โภไคยอุดม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลนีสารสนเทศและการสื่อสาร ภายใต้รัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ กล่าวว่า การวิพากษ์วิจารณ์ประธาน[[องคมนตรี]]ถือเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ ดังนั้น การปิดเว็บไซต์ที่มีข้อความวิพากษ์วิจารณ์ดังกล่าวจึงเป็นเรื่องเหมาะสม<ref>The Nation, [http://nationmultimedia.com/2007/04/15/headlines/headlines_30031904.php Sitthichai gets no kick from the Net], 15 เมษายน พ.ศ. 2550</ref>
* รัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ผลักดันกฎหมายที่ระบุว่า ผู้ที่พยายามเข้าเว็บไซต์ใดๆที่รัฐบาลได้เซ็นเซอร์ไว้หนึ่งหมื่นกว่าเว็บ จะต้องรับโทษตามกฎหมาย และเอาผิดผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตที่ไม่เปิดเผยไอพีแอดเดรสของผู้ใช้แก่รัฐบาล<ref>Bangkok Post, [http://pages.citebite.com/j1m6f7i1b7afp Thailand gets new cyber crime law], 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2550</ref>
* การปิดวิทยุชุมชนที่ต่อสายตรงสัมภาษณ์อดีตนายกฯพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร พ.ต.ท.ให้สัมภาษณ์หลังเกิดรัฐประหารเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 โดยได้โทรทัศน์เข้ามาที่สถานีวิทยุชุมชนคลื่น 87.75FM และคลื่น 92.75FM วันต่อมา รัฐบาลทหาร [[กรมประชาสัมพันธ์]] และ [[กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน]]ได้เข้ามาตรวจสอบวิทยุชุมชนแห่งนี้ ทำให้วิทยุชุมชนนี้งดออกอากาศ<ref>Bangkok Post, [http://pages.citebite.com/t1e7c1c2q9rea After Thaksin calls, officials drop by], May 2007</ref>
* การก่อตั้งเครือข่ายสนับสนุนรัฐบาลทหารจำนวน 700,000 คนเพื่อสกัดกั้นผู้ประท้วงรัฐบาลทหาร ผบ.[[กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน|กอ.รมน.]] กล่าวว่า "เราต้องสกัดกั้นผู้ประท้วงให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ ถ้ามีผู้ประท้วงน้อยกว่า 50,000 คน ก็ไม่น่าจะเกิดปัญหาอะไร"<ref>The Nation, [http://nationmultimedia.com/2007/05/21/headlines/headlines_30034736.php Govt in move to head off violence], 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2550</ref>
* วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2550 รัฐบาลทหารสั่งเซ็นเซอร์การแพร่ภาพการสัมภาษณ์ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ทาง CNN ในประเทศไทย<ref>[http://facthai.wordpress.com/2007/01/15/pull-thaksin-cnn-interview Thai generals pull plug on Thaksin CNN interview]</ref>
 
=== สื่อสารมวลชน ===
* ได้ปิดสถานีโทรทัศน์ไอทีวีเมื่อวันพุธที่ 7 มีนาคม 2550
* ได้เปิดสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 8 มีนาคม 2550 และปิดตัวลงเมื่อวันจันทร์ที่ 14 มกราคม 2551 เวลา00.00 น.
* ได้เปิดสถานีโทรทัศน์ทีพีบีเอสก่อตั้งเมื่อวันอังคารที่ 15 มกราคม 2551 และ หลังจากวันที่ 1 กุมภาพันธ์ - 30 เมษายน 2551 ใช้ชื่อว่าสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และในปัจจุบันใช้ชื่อว่า[[สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย ทีวีสาธารณะ]] ตั้งแต่วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤษภาคม 2551 (วันแรงงานแห่งชาติ) และได้ทดลองออกอากาศเมื่อวันที่ 1 -14 กุมภาพันธ์ 2551 โดยยังไม่มีรายการข่าวและเปิดทำการออกอากาศเป็นครั้งแรกอย่างเต็มรูปแบบโดยภายใต้[[องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย]]เมื่อวันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2551 โดยใช้สีประจำสถานีคือ สีเหลือง - ส้ม
* จัดรายการที่ให้ข้อมูลข่าวสารของรัฐบาลให้แก่ประชาชน คือ รายการสายตรงทำเนียบ และรายการ เปิดบ้านพิษณุโลก ออกอากาศทาง [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย]]
 
== อ้างอิง ==