ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แฮร์รี่ พอตเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PaePae (คุย | ส่วนร่วม)
PaePae (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 126:
== ประวัติการประพันธ์ การพิมพ์ และการแปล ==
=== การตีพิมพ์ ===
ในปี [[พ.ศ. 2539]] โรว์ลิงโรว์ลิ่งเขียนต้นฉบับของหนังสือเล่มแรกเสร็จ และหาคนที่จะเป็นตัวแทนของเธอ ตัวแทนคนถึงสองที่เธอได้ติดต่อ คริสโตเฟอร์ ลิตเติล ได้ตกลงที่จะเป็นตัวแทนของโรว์ลิงโรว์ลิ่งและส่งต้นฉบับไปที่สำนักพิมพ์บลูมสบิวรี หลังจากที่สิบสองสำนักพิมพ์ก่อนหน้านี้ได้ปฏิเสธ บลูมสบิวรีเสนอค่าตอบแทนล่วงหน้าเป็นเงิน 2,500 [[ปอนด์สเตอร์ลิง]] สำหรับการตีพิมพ์ ''Harry Potter and the Philosopher's Stone''<ref>[http://www.businessweek.com/magazine/content/05_22/b3935414.htm Nigel Newton] บิสเนสวีก {{en icon}}</ref> แม้ว่าโรว์ลิงโรว์ลิ่งจะไม่ได้วางกลุ่มอายุเป้าหมายเมื่อครั้งที่เธอเริ่มเขียน สำนักพิมพ์ได้วางกลุ่มอายุเป้าหมายเริ่มแรกไว้ที่ 9 ถึง 11 ปี<ref>http://www.kidsreads.com/harrypotter/jkrowling.html {{en icon}}</ref> สำนักพิมพ์ได้ขอให้โรว์ลิงโรว์ลิ่งเลือกนามปากกาที่ไม่บ่งบอกเพศ เนื่องจากกลัวว่าเด็กผู้ชายในวัยนี้จะไม่สนใจหากทราบว่าผู้แต่งนั้นเป็นผู้หญิง โรว์ลิงโรว์ลิ่งเลือกใช้ชื่อย่อว่า "เจ. เค. โรว์ลิ่ง" จากโจแอน แคทลีน โดยแคทลีนนั้นเป็นชื่อของย่าของเธอ<ref>Savill, Richard. [http://www.accio-quote.org/articles/2000/0700-savill-telegraph.html "Harry Potter and the mystery of J K's lost initial,"] The Daily Telegraph {{en icon}}</ref><ref>[http://www.hp-lexicon.org/muggle/encyc/muggle-r.html HPL: Muggle Encyclopedia: R] hp-lexicon {{en icon}}</ref>
 
หนังสือเล่มแรกได้รับการตีพิมพ์ใน[[สหราชอาณาจักร]]โดยบลูมสบิวรีในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 และหลังจากนั้นใน[[สหรัฐอเมริกา]]ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 โดยสำนักพิมพ์สกอลาสติก สกอลาสติกต้องการให้เปลี่ยนชื่อเรื่องเป็น ''Harry Potter and the Sorcerer's Stone'' เนื่องจากเกรงว่าผู้อ่านชาวอเมริกันอาจไม่คุ้นชินกับคำว่า philosopher (นักปราชญ์) หรือแก่นเรื่องเกี่ยวกับ[[เวทมนตร์]]หรือ[[การเล่นแร่แปรธาตุ]] ที่ ''philosopher's stone'' (''ศิลานักปราชญ์'' ฉบับแปลไทยใช้คำว่า''ศิลาอาถรรพ์'') มีความเกี่ยวข้องอยู่ โรว์ลิ่งออกหนังสือเล่มต่อ ๆ มาตามมาในเวลาไล่เลี่ยกัน เรียงตามลำดับตั้งแต่ พ.ศ. 2540 - 2550 ทำให้รักษาความสนใจของผู้อ่านและสร้างกลุ่มผู้อ่านที่ภักดีขึ้นได้<ref> {{cite news|publisher=New York Times|title=Books' Hero Wins Young Minds|date=12 กรกฎาคม 2542}}</ref>
บรรทัด 136:
โรว์ลิ่งประกาศว่าเธอจะเขียนหนังสือนิยายเล่มใหม่ พร้อมกับบอกว่ากำลังเขียนหนังสือสารานุกรมเกี่ยวกับแฮร์รี่ พอตเตอร์ ซึ่งมีเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับแฮร์รี่ พอตเตอร์ที่ไม่ได้เขียนเอาไว้ในหนังสือมาก่อน เธอจะนำมาบอกเล่าให้ผู้อ่านได้อ่านกันในหนังสือสารานุกรมนี้ แต่คงต้องใช้เวลาอีกหน่อย หลังจากนั้นไม่ถึงเดือน สำนักพิมพ์ที่[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] ได้ตีพิมพ์หนังสือสารานุกรมไปก่อนหน้าที่[[เจ. เค. โรว์ลิ่ง]]จะเขียนเสร็จ จึงเกิดการฟ้องร้องต่อศาลที่สหรัฐอเมริกา โรว์ลิ่งได้ฟ้องร้องสำนักพิมพ์ที่จัดพิมพ์และจำหน่ายสารานุกรมนั้นโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเธอและเป็นการคัดลอกข้อมูลของเธอซึ่งเธอกำลังจะเขียนมันในสารานุกรมแฮร์รี่ พอตเตอร์ของจริง ในการฟ้องร้องครั้งนั้นศาลได้ตัดสินให้เธอชนะคดีในที่สุด<ref>[http://news.sky.com/skynews/Home/World-News/JK-Rowling-Wins-Harry-Potter-Lexicon-Copyright-Case-Steven-Vander-Ark-Book-Halted-By-Judge/Article/200809215095424?lpos=World%2BNews_3&lid=ARTICLE_15095424_JK%2BRowling%2BWins%2BHarry%2BPotter%2BLexicon%2BCopyright%2BCase%253A%2BSteven%2BVander%2BArk%2BBook%2BHalted%2BBy%2BJudge JK-Rowling Wins Harry Potter Lexicon Copyright]</ref>
 
หลังจากการฟ้องร้องจบลง เธอได้เขียนนิทานเรื่องหนึ่งขึ้นด้วยลายมือของเธอเอง ใช้ชื่อว่า ''[[นิทานของบีเดิลยอดกวี]]'' อันเป็นนิทานที่ถูกอ้างอิงอยู่ในเล่มที่เจ็ด นิทานเรื่องนี้ โรว์ลิงโรว์ลิ่งเขียนขึ้นมาเจ็ดเล่มในโลกเท่านั้น เธอมอบให้กับบุคคลที่ได้ทำให้เธอประสบความสำเร็จรวม 6 เล่ม ส่วนเล่มสุดท้ายนำไปประมูล ได้เงินมาราคาหลายล้านปอนด์<ref>[http://www.telegraph.co.uk/news/uknews/3669918/Amazon-admits-to-record-Harry-Potter-bid.html Amazon admits to record Harry Potter bid]</ref>และนำเงินมอบให้แก่การกุศล ต่อมามีเด็กสาวชาวออสเตรเลียคนหนึ่งได้แต่งคำกลอนประกวดและชนะเลิศโดยเธอได้อ่านเนื้อหาในหนังสือเล่มนั้นทั้งหมด แต่อย่างไรก็ตามสำนักพิมพ์ของอังกฤษก็ได้ตีพิมพ์หนังสือเล่มนี้ออกวางจำหน่ายในวันที่ [[4 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2551]] ส่วนในประเทศไทยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ได้ตีพิมพ์หนังสือเล่มนี้เป็นฉบับภาษาไทย<ref>[http://www.ryt9.com/news/2008-12-15/48797428/ นิทานของบีเดิลยอดกวี ของขวัญปีใหม่ ที่ J.K.Rowling มอบให้เด็กๆ ทั่วโลก]</ref> วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2551 โดยมีคุณ[[สุมาลี บำรุงสุข]]เป็นผู้แปล
 
หลังจากเจ. เค. โรว์ลิ่งเขียนหนังสือนิทานเล่มนี้แล้ว เธอได้เขียนเรื่องราวสั้นๆ จำนวน 800 คำ ลงในกระดาษ เป็นเรื่องราวของ[[เจมส์ พอตเตอร์]]กับ [[ซีเรียส แบล็ก]] ปะทะกับตำรวจ[[มักเกิ้ล]] เป็นเรื่องราวก่อนแฮร์รี่จะเกิด 3 ปี เรื่องสั้นนี้ยังไม่ได้ตั้งชื่อ แต่เรียกกันอย่างย่อว่า ''[[พรีเควลแฮร์รี่ พอตเตอร์]]''