ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Zambo (คุย | ส่วนร่วม)
Zambo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 10:
 
<blockquote>
"การวางเพลิงรัฐสภาไรช์สทักเป็นความมุ่งหมายที่จะส่งสัญญาณว่าจะเกิดการก่อการจลาจลนองเลือดและ[[สงครามกลางเมือง]] มีการวางแผนการปล้มสะดมอย่างกว้างขวางในกรุงเบอร์ลิน...มีการกำหนดให้มี...ตลอดทั่วเยอรมนีซึ่งการก่อการร้ายต่อบุคคลสำคัญ ต่อทรัพย์สินส่วนบุคคล ต่อชีวิตและความปลอดภัยของประชากรอันสงบเรียบร้อย และจะได้นำไปสู่สงครามกลางเมืองอยู่ทั่วไป...''"</blockquote>
</blockquote>
 
หลังจากเพลิงไหม้รัฐสภาไรช์สทักหนึ่งวัน นาย[[เฮอร์มันน์ เกอริง]]ได้อภิปรายเกี่ยวกับเหตุการณ์ และมีการร่าง "คำสั่งประธานาธิบดีไรซ์ว่าด้วยการป้องกันประชาชนและรัฐ" เสนอต่อคณะรัฐมนตรีแห่งไรช์ ซึ่งตัวนายอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เองกล่าวว่า เหตุการณ์เพลิงไหม้ครั้งนี้นำไปสู่ "การเผชิญหน้าอันทารุณกับ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี]]" จากนั้นไม่นาน นาย[[พอล ฟอน ฮินเดนเบิร์ก]] ประธานาธิบดีผู้มีอายุ 84 ปีและมี[[ภาวะสมองเสื่อม]] ก็ลงนามในคำสั่งฉบับนี้ โดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 48 ของรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ ซึ่งเป็นบทบัญญัติที่อนุญาตให้ประธานาธิบดีแห่งเยอรมนีดำเนินมาตรการใด ๆ ในกรณีจำเป็นเพื่อป้องปัดภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ