ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสร้างภาพเชิง 3 มิติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jame (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Jame (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''การสร้างภาพเชิง 3 มิติ''' (three-dimensional imaging)''' คือ การหารูปร่างและขนาดของวัตถุใน 3 มิติ โดยเทคนิคของการวัดรูปร่างนี้ จะมีเงื่อนไขจำกัดอยู่ เนื่องจากสิ่งที่ต้องการวัดคือ ขนาดสัมบูรณ์ของวัตถุ เพราะฉะนั้นขนาดของวัตถุที่วัดได้ จะต้องไม่ขึ้นกับชนิดผิวและการสะท้อนของวัตถุ, ระยะห่างจากอุปกรณ์เก็บภาพ( 3 มิติ), และ สภาพแสงและการส่องสว่าง
 
เทคนิคในการเก็บภาพ 3 มิตินี้ มีอยู่หลายวิธีด้วยกัน ซึ่งแต่ละวิธีก็มีข้อจำกัดที่แตกต่างกันไป อุปกรณ์เซนเซอร์รับรู้ที่ใช้ในการเก็บภาพ 3 มิตินี้ สามารถแยกกว้างๆ ได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
# [[การวัดจุดตัดสามเหลี่ยม]] (triangulation)
# การวัดโดยใช้เวลาในการเดินทาง (time-of-flight measurement, TOF)
# การวัดการแทรกสอด (interferometry)
 
==การวัดจุดตัด สามเหลี่ยม(triangulation)==
ที่เรียกว่าการวัดจุดตัด เป็นการวัดหาระยะความลึกของภาพ (depth) ของภาพโดยในการวัดจะมีพื้นฐานมาจาก การตัดกันของแกนอะไรบางอย่างเป็นรูปสามเหลี่ยม เมื่อรวมกับข้อมูลของอุปกรณ์วัด จะทำให้สามารถหาระยะลึกได้
# เทคนิคการใช้โฟกัส
## Depth from focus
## Depth from defocus
## การสามเหลี่ยมแบบกัมมันต์ (Active triangulation) กระทำด้วยการฉายแสงที่มีรูปร่างโครงสร้างแน่นอน (structured light) ไปบนวัตถุ โดยอาศัยข้อมูลตำแหน่งของตัวฉายแสงกับอุปกรณ์รับ และ มุมที่อุปกรณ์ทั้งสองไปยังตำแหน่งใดๆของแสง ทำกับเส้นเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ทั้งสองเป็นสามเหลี่ยม จะทำให้หาระยะความลึกได้ โดยแสงที่ฉายอาจเป็นจุด, เส้น, หรือแสงที่เข้ารหัส
## การสามเหลี่ยมแบบกสานติ์ (Passive triangulation) จะเป็นลักษณะของ stereo visionการเห็นสามมิติ จะใช้อุปกรณ์รับภาพ 2 ตัวหรือมากกว่า โดยการหาตำแหน่งร่วมในภาพ แล้ววัดระยะของตำแหน่งร่วมใดๆ ในภาพ ต้วยการ triangulateต้วยการสามเหลี่ยม จากข้อมูลตำแหน่งอุปกรณ์รับภาพทั้งสองกับมุม เช่นเดียวกับในกรณี active triangulationการสามเหลี่ยมกัมมันต์ ซึ่งการหาตำแหน่งร่วมนี้เป็นจุดสำคัญ โดยอาจทำได้โดยการ match จับคู่จุดเด่นในภาพ, texture พื้นผิวของภาพ, หรือ การเอาวัตถุที่มีลักษณะเฉพาะเข้าไปวางบนวัตถุ หรือไว้ใน scene ฉากที่ต้องการวัด
# Theodolites หรือ เครื่องมือรังวัด
# Shape from shading วิทยานิพนธ์ฉบับแรกในเรื่องนี้ [ftp://publications.ai.mit.edu/ai-publications/pdf/AITR-232.pdf Shape from Shading: A Method for Obtaining the Shape of a Smooth Opaque Object from One View] โดย Berthold K. P. Horn เป็นการหารูปร่างจากแสงและเงา โดยใช้ตำแหน่งของอุปกรณ์รับภาพ และตำแหน่งของอุปกรณ์ฉายแสง ในการหาขนาดของวัตถุ
 
==การวัดโดยใช้เวลาในการเดินทาง (time-of-flight measurement, TOF)==
เป็นเทคนิคหาระยะ โดยวัดระยะเวลาการเดินทางของสัญญาณที่ส่งออกไป และสะท้อนวัตถุกลับมา เมื่อรวมกับความเร็วในการเดินทางของสัญญาณ จะทำให้หาระยะความลึกได้ สัญญาณที่ใช้วัดจะแบ่งได้เป็น pulse modulation, continuous wave, และ pseudo-random noise
 
<!--==การวัดการแทรกสอด (interferometry)==-->
{{โครงวิทยาศาสตร์}}