ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาการคอมพิวเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{shortcut|[[Comsci]]}}
'''วิทยาการคอมพิวเตอร์''' หรือ '''วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: computer science) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฏี[[การคำนวณ]]สำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฏี[[การประมวลผลสารสนเทศ]] ทั้งด้าน[[ซอฟต์แวร์]] [[อุปกรณ์คอมพิวเตอร์|ฮาร์ดแวร์]] และ [[เครือข่าย]] ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับ[[คอมพิวเตอร์]] ตั้งแต่ระดับนามธรรม หรือความคิดเชิงทฤษฎี เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์[[ขั้นตอนวิธี]] ไปจนถึงระดับรูปธรรม เช่น ทฤษฎี[[ภาษาโปรแกรม]], ทฤษฏีการพัฒนาซอฟต์แวร์, ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ ทฤษฏี[[เครือข่าย]]
 
ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น ศาสตร์คอมพิวเตอร์ หรือวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในห้าสาขาที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย [[ศาสตร์วิทยาการคอมพิวเตอร์]], [[เทคโนโลยีสารสนเทศ]], [[ระบบสารสนเทศ]], [[วิศวกรรมซอฟต์แวร์]], และ[[วิศวกรรมคอมพิวเตอร์]]
 
== ประวัติ ==
 
=== ประวัติของชื่อ ===
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
 
คำว่า '''วิทยาการคอมพิวเตอร์''' มีความหมายเทียบเท่ากับคำใน[[ภาษาอังกฤษ]] คือ '''computer science''' (หรือใน[[สหราชอาณาจักร]] นิยมใช้คำว่า '''computing science''' โดยมีความหมายต่างกันเล็กน้อย)
<!--อาจจะพูดถึงชื่อ "วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์" ตรงนี้ได้-->
 
คำที่ใช้ใน[[ภาษาฝรั่งเศส]]คือ '''Informatique''' จาก « "information »" (informationสารสนเทศ) และ « "automatique »" (automaticอัตโนมัติ) บัญญัติโดย [[:fr:Philippe Dreyfus|Philippe Dreyfus]] ในปี [[พ.ศ. 2505]] (ค.ศ. 1962) ซึ่งคำใน[[ภาษาอิตาลี]] '''Informatica''' และ[[ภาษาสเปน]] '''Informática''' ก็มีที่มาจากคำในภาษาฝรั่งเศสคำนี้ ส่วนคำที่ใช้ใน[[ภาษาเยอรมัน]]คือ '''Informatik''' ซึ่งก็ดูคล้ายกัน และมีรากจากคำทั้งสองเหมือนกัน แต่ได้ถูกบัญญัติใช้ในเยอรมันมาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2500]] (ค.ศ. 1957) และเมื่อไม่นานมานี้ ในภาษาอังกฤษเอง ก็ได้มีการใช้คำว่า '''informatics''' ซึ่งก็มาจากรากเดียวกัน แต่มักใช้หมายความถึง information science ([[วิทยาการสารสนเทศศาสตร์]]) หรือในบางครั้งใช้แทนคำว่า computer science (หรือ computing scince) แต่กินความหมายที่กว้างไปกว่าคอมพิวเตอร์หรือเครื่องจักร โดยรวมถึงการคำนวณและสารสนเทศในธรรมชาติด้วย
 
==== ชื่อในภาษาไทย ====
เส้น 20 ⟶ 18:
ต่อมา[[ราชบัณฑิตยสถาน]]ได้กำหนดคำว่า "วิทยาการคอมพิวเตอร์" ให้มีความหมายตรงกับคอมพิวเตอร์ไซน์ขึ้น ทำให้หน่วยงานที่ต่าง ๆ ปรับมาใช้คำว่า วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือใช้คำศัพท์อื่น ๆ ที่มีความหมายใกล้เคียงตามแต่ละสถาบันกำหนด เช่น [[วิทยาการคณนา]] ซึ่งมาจากศาสตร์แห่ง[[การคำนวณ]]เชิงคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีการเรียนการสอนเน้นทางด้านการคำนวณ[[คณิตศาสตร์]]สำหรับงานคอมพิวเตอร์มากกว่า การศึกษาองค์ความรู้ที่เกียวกับคอมพิวเตอร์โดยตรง หรือ สาขาที่ใกล้เคียงอย่าง [[คณิตศาสตร์ประยุกต์]] เป็นต้น
 
=== ผู้บุกเบิกสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ===
* [[ชาร์ลส แบบเบจ]] (Charles Babbage) ออกแบบและสร้างเครื่องลบเลข ([[:en:difference engine|difference engine]]) และออกแบบเครื่องเชิงวิเคราะห์ ([[:en:analytical engine|analytical engine]]) ที่มีความสามารถมากขึ้น
* [[จอห์น แบคคัส]] (John Backus) <!--[[:en:John Backus|John Backus]]-->) คิดค้น [[ภาษาฟอร์แทรน]] (FORTRAN) ซึ่งเป็นภาษาระดับสูงภาษาแรกที่มีการใช้งานจริง และการออกแบบ [[รูปแบบ Backus-Naur]] ([[:en:Backus-Naur form|Backus-Naur form]]) สำหรับการอธิบายภาษาโปรแกรมอย่างเป็นทางการ
*[[อลองโซ เชิร์ช]] (Alonzo Church) <!--[[:en:Alonzo Church]]--> พัฒนาพื้นฐานของ[[วิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี]] โดยเฉพาะการสร้าง[[แลมดาแคลคูลัส]] และการค้นพบ[[ปัญหาที่แก้ไม่ได้ในระบบนั้น]]
* [[เจมส์ ดับเบิลยู คูลีย์]] ([[:en:James W. Cooley|James W. Cooley]]) และ [[จอหน์ ดับเบิลยู ทูคีย์]] ([[:en:John W. Tukey|John W. Tukey]] คิดค้น) [[ขั้นตอนวิธีการแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว]] <!--[[:en:Cooley-Tukey FFT algorithm]]--> ซึ่งมีบทบาทอย่างสูงในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์
* [[โอเล-โจฮาน ดาห์ล]] ([[:en:Ole-Johan Dahl|Ole-Johan Dahl]]) และ [[เคียสเทน ไนก์อาร์ด]] ([[:en:Kristen Nygaard|Kristen Nygaard]]) คิดค้น[[ภาษา SIMILA]] <!--[[:en:SIMULA]]--> ซึ่งเป็นโปรแกรมเชิง(กึ่ง)วัตถุ
* [[เอดส์เกอร์ ไดจ์สตรา]] ([[:en:Edsger Dijkstra|Edsger Dijkstra]]) พัฒนาขั้นตอนวิธีพื้นฐาน, [[:en:rigor|rigor]], การโปรแกรมโดยใช้ [[semaphore]]<!--[[:en:semaphore (programming)]]-->, บทความ "คำสั่ง โกทู (Goto) นั้นพิจารณาดูแล้วไม่ปลอดภัย" ซึ่งพูดถึงอันตรายจากการใช้คำสั่งโกทู ([[Goto]]) <!---->, และกลวิธีในการสอน
* [[ซี.เอ.อาร์. ฮอร์]] ([[:en:Tony Hoare|C.A.R Hoare]]) พัฒนาภาษาทางการซีเอสพี (CSP) ([[:en:Communicating Sequential Processes|Communicating Sequential Processes]]) และ [[ขั้นตอนวิธี Quicksort]] <!--[[:en:Quicksort]]-->
* พลเรือเอก[[เกรซ มัวเรย์ ฮอปเปอร์]] (Admiral [[:en:Grace Hopper|Grace Murray Hopper]]) บุกเบิกพื้นฐานของโปรแกรมภาษาระดับสูง ที่เธอเรียกว่า "การโปรแกรมอัตโนมัติ", พัฒนา[[ตัวแปลภาษา]] (A-O compiler), และมีอิทธิพลอย่างสูงกับ[[ภาษาโคบอล]] (COBOL) <!--[[:en:COBOL]]-->
* [[เคนเนท ไอเวอร์สัน]] ([[:en:Kenneth Iverson|Kenneth Iverson]]) คิดค้น[[ภาษา APL]] <!--[[:en:APL programming language]]--> และมีส่วนร่วมพัฒนา[[การคำนวณแบบปฏิสัมพันธ์]]
* [[โดนัล คนุท]] ([[:en:Donald Knuth|Donald Knuth]]) เขียน[[ชุดหนังสือ The Art of Computer Programming]] <!--[[:en:The Art of Computer Programming]]--> และระบบสร้างเอกสาร [[TeX]]
เส้น 39 ⟶ 37:
* [[โทชิยาสึ ลอเรนส์ คูนิอิ]] (Tosiyasu Laurence Kunii) นิยามความหมายของ[[โลกไซเบอร์]] (Cyberworlds) และเป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ของเอเชีย
 
*''ดูรายชื่อบุคคลเพิ่มที่น่ายกย่องอื่น&nbsp;ๆ ได้จาก: [[รายชื่อนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์]] ([[:en:list of computer scientists|list of computer scientists]])''
 
==รางวัลทางด้านคอมพิวเตอร์==
*[[รางวัลทัวริง]] ([[:en:Turing Award|Turing Award]]) รางวัลที่ได้รับการยกย่องสูงสุดในวงการวิทยาการคอมพิวเตอร์
 
*[[รางวัลด้านการศึกษาเทย์เลอร์ แอล บูธ ]] (Taylor L. Booth Education Award) เพื่อยกย่องผู้ทำคุณประโยชน์ให้กับวงการการศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์
 
เส้น 126 ⟶ 123:
* [[วิศวกรรมคอมพิวเตอร์]] เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ การใช้หลักการวิศวกรรม ซึ่งเริ่มตั้งแต่การเก็บความต้องการ การออกแบบ การสร้าง การทดสอบ วิเคราะห์ จนถึงการบำรุงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับระบบคอมพิวเตอร์ หรือ ระบบอุปกรณ์ ซึ่งต้องใช้ความรู้ทั้งซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ การสื่อสาร ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรม
* [[วิศวกรรมซอฟต์แวร์]] (วิศวกรรมส่วนชุดคำสั่ง) เน้นที่กระบวนการวิศวกรรมสำหรับระบบซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ โดยเริ่มด้วยการวิเคราะห์ความต้องการ, การออกแบบ, การพัฒนา, การทดสอบ ตลอดจนถึงการบำรุงรักษาระบบซอฟต์แวร์
* [[วิทยาการสารสนเทศ]] (หรือ [[สารสนเทศศาสตร์]]) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับภาคทฤษฎีสารสนเทศ เริ่มตั้งแต่การรับรู้, การทำความเข้าใจ, การวิเคราะห์, การจัดเก็บ, [[การค้นคืน]], การสร้าง, การโต้ตอบ, การสื่อสาร, และ การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
* [[เทคโนโลยีสารสนเทศ]] เน้นการประยุกต์ใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดกับสังคม ธุรกิจ องค์กร หรืออุตสาหกรรม
* [[ระบบสารสนเทศ]] เป็นการศึกษาการใช้งานคอมพิวเตอร์ สำหรับระบบการทำงานที่อาศัยข้อมูลสารสนเทศ เพื่อจุดประสงค์ในการช่วยเหลือสนับสนุน การดำเนินงานต่าง&nbsp;ๆ ภายในองค์กร โดยคำประยุกต์ใช้งานนั้น จะมีความหมายครอบคลุมถึง การออกแบบ,ใช้งาน, การติดตั้ง, และการบำรุงรักษา ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์, เครือข่าย, บุคลากร หรือ[[ข้อมูล]]
เส้น 136 ⟶ 133:
* [[วิทยาการสารสนเทศ]]
 
[[Categoryหมวดหมู่y:วิทยาการคอมพิวเตอร์| ]]
[[Categoryหมวดหมู่:สาขาวิชา| ]]
 
[[af:Rekenaarwetenskap]]