ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โดพามีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
ย้ายโดปามีนมาวางไว้ ตามที่ได้แจ้งรวมบทความ
บรรทัด 124:
 
โดพามีนสามารถใช้เป็นยา ซึ่งมีผลต่อระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) โดยมีผลลัพธ์คือ อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น แรงดันโลหิตเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม เมื่อโพพามีนไม่สามารถผ่านโครงสร้างกั้นระหว่างเลือดและสมอง (blood-brain barrier) โดพามีนที่ใช้เป็นยา จะไม่มีผลโดยตรงต่อระบบประสาทส่วนกลาง การเพิ่มปริมาณของโดพามีนในสมองของผู้ป่วยที่เป็นโรคต่างๆ เช่น พาร์คินสัน สามารถให้สารตั้งต้นแบบสังเคราะห์แก่โดพามีน เช่น L-DOPA เพื่อให้สามารถผ่านโครงสร้างกั้นระหว่างเลือดและสมองได้
 
[[โดปามีน]] (dopamine) เป็น[[สารสื่อประสาท]]กลุ่ม[[แคทีโคลามีน]] (catecholamines) ที่สร้างมาจาก[[กรดอะมิโน]][[ไทโรซีน]] (tyrosine) โดยอาศัยการทำงานของ[[เอนไซม์ไทโรซีนไฮดร๊อกซิเลส]] (tyrosine hydroxylase) ใน[[สมอง]] มีปริมาณโดปามีนประมาณร้อยละ 80 ของสารกลุ่มแคทีโคลามีนที่ถูกสร้างขึ้นทั้งหมด นอกจากนี้โดปามีนยังจัดเป็นนิวโรฮอร์โมน (neurohormone) ที่หลั่งจากสมองส่วน[[ไฮโปธาลามัส]] ซึ่งทำหน้าที่ยับยั้งการหลั่ง[[โปรแลคติน]]จากกลีบส่วนหน้าของ[[ต่อมพิทูอิตารี]]
 
เมื่อโดปามีนถูกปลดปล่อยจาก[[เซลล์ประสาทโดปามีน]]แล้ว จะมีผลต่อสมองส่วนต่างๆ ในหลายด้าน ซึ่งได้แก่
# [[วิถีไนโกรสไตรตาล]] (nigrostriatal)
# [[วิถีมีโซลิมบิค]] (mesolimbic)
# [[วิถีมีโซคอร์ติคอล]] (mesocortical)
# [[วิถีทูเบอโรอินฟันดิบิวลาร์]] (tuberoinfundibular)
โดปามีนออกฤทธิ์ผ่าน[[ตัวรับโดปามีน]]ที่เป็น[[โปรตีน]]ซึ่งอยู่บน[[เยื่อหุ้มเซลล์]] ตัวรับโดปามีนทุกชนิดจัดอยู่ในกลุ่มตัวรับที่จับอยู่กับ[[โปรตีนจี]] (G-protein-coupled receptor)
 
โดปามีนที่ถูกปลดปล่อยออกมาที่[[ไซแนปติกเคล็ฟท์]] (synaptic cleft) แล้วอาจถูกทำลายได้ 3 วิธี คือ
# ดูดกลับเข้าเซลล์โดย[[โดปามีนทรานสปอตเตอร์]] (dopamine transporter; DAT)
# ถูกเอนไซม์ทำลาย
# เกิด[[การแพร่]]
== Major Dopamine Pathways ==