ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาซีรีแอก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlleborgoBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: pt:Língua siríaca
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
|fam3=[[ภาษากลุ่มเซมิติกตะวันตก]]
|fam4=[[ภาษากลุ่มเซมิติกกลาง]]
|fam5=[[ภาษากลุ่มเซมิติกตะวีนตะวันตกเฉียงเหนือ]]
|fam6=[[ภาษาอราเมอิก]]
|fam7=ภาษาอราเมอิกตะวันออก
บรรทัด 22:
|lc5=cld|ld5=ภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดีย
|lc6=hrt|ld6=ภาษาเฮอร์เตวิน|ll4=ภาษาเฮอร์เตวิน
|lc7=kqd|ld7=ภาษากอย ซันจัตซันจัก ซูรัต
|lc6=lhs|ld6=ภาษามลาโซ
|lc8=syn|ld8=ภาษาเซนายา
บรรทัด 28:
[[ภาพ:Syriac Sertâ book script.jpg|thumb|250px|เอกสารภาษาซีเรียคอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 ]]
 
'''ภาษาซีเรียค''' (ܣܘܪܝܝܐ Suryāyā)เป็นสำเนียงตะวันออกของ[[ภาษาอราเมอิก]] ใช้พูดใกลุ่มชาวคริสต์ ที่อยู่ระหว่าง[[จักรวรรดิโรมัน]]และเปอร์เซีย ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1 –12 ปัจจุบันยังคงใช้ในทางศาสนา โดยผู้พูด[[ภาษาอราเมอิกใหม่]]ใน[[ซีเรีย]] และใช้ในโบสถ์คริสต์ของชาวซีเรีย ในรัฐ[[เกรราลารัฐเกรละ]] [[ประเทศอินเดีย]] เป็นภาษาทางศาสนาใน[[ตะวันออกกลาง]]ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 – 13 <ref>Beyer, Klaus1986.The Aramaic Language: its distribution and subdivisions.John F. Healey (trans.)GöttingenVandenhoeck und Ruprechtpages=44isbn=3-525-53573-2</ref> ความหมายอย่างกว้างหมายถึงภาษาอราเมอิกตะวันออกทั้งหมดที่ใช้ในหมู่ชาวคริสต์ ความหมายอย่างจำเพาะเจาะจงหมายถึงภาษาคลาสสิกของอีเดสซา ซึ่งเป็นภาษาทางศาสนาของชาวซีเรียคที่นับถือ[[ศาสนาคริสต์]] และกลายเป็นสื่อในการเผยแพร่วัฒนธรรมและศาสนาคริสต์จากทางเหนือไปสู่มาลาบาร์ และจากทางตะวันออกไปถึง[[จีน]]เคยใช้เป็นภาษากลางระหว่าง[[ชาวอาหรับ]]กับ[[ชาวเปอร์เซีย]]ก่อนจะถูกแทนที่ด้วย[[ภาษาอาหรับ]]เมื่อ พุทธศตวรรษที่ 13
 
== การจัดจำแนก ==
 
ภาษาซีเรียคเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียติก อยู่ในภาษากลุ่มเซมิติก สาขาเซมิติกตะวันตก และจัดอยู่ในกลุ่มของภาษาอราเมอิก เขียนด้วยอักษรซีเรียค
 
== การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ ==
 
เริ่มแรกภาษาซีเรียคเป็นสำเนียงของภาษาอราเมอิกท้องถิ่น ใน[[เมโสโปเตเมีย]]ภาคเหนือ ก่อนที่ภาษาอาหรับจะเข้ามาเป็นภาษหลักในภูมิภาคนี้ ภาษาซีเรียคเคยเป็นภาษาหลักของชาวคริสต์ในตะวันออกกลาง เอเชียกลางและรัฐเกรละ ปัจจุบันมีผู้ใช้เป็นภาษาแรกในชุมชนเล็กๆในซีเรีย เลบานอน ตุรกี อิรัก อิหร่าน ปาเลสไตน์ อิสราเอล อาร์เมเนีย จอร์เจียและอาเซอร์ไบจาน
 
== ประวัติ ==
 
ประวัติของภาษาซีเรียคแบ่งได้เป็นสามยุคกว้างๆคือ
* [[ภาษาซีเรียคโบราณ]] เป็นภาษาของ[[ราชอาณาจักรออสโรเอเน]]
* [[ภาษาซีเรียคยุคกลาง]] Syriac (ܟܬܒܢܝܐ Kṯāḇānāyâ: ภาษาซีเรียควรรณคดี) แบ่งได้อีกเป็น
** [[ภาษาซีเรียคยุคกลางตะวันตก]] เป็นภาษาทางศาสนาและวรรณคดีของชาวคริสต์นิกายซีเรียคและมาโรไนต์
** [[ภาษาซีเรียคยุคกลางตะวันออก]]เป็นภาษาทางศาสนาและวรรณคดีของชาวคริสต์นิกายคัลเดียและอัสซีเรีย
* [[ภาษาซีเรียคสมัยใหม่]] เป็นภาษาอราเมอิกตะวันออกสมัยใหม่ แบ่งได้เป็น
** [[ภาษาซีเรียคตะวันตกสมัยใหม่]] ได้แก่ ภาษาตูโรโย และภาษามลาโซ
** [[ภาษาซีเรียคตะวันออกสมัยใหม่]] เช่น ภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย ภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดีย เป็นต้น
===จุดกำเนิด===
ภาษาซีเรียคเริ่มจากเป็นสำเนียงที่ไม่มีการเขียนของภาษาอราเมอิกโบราณในเมโสโปเตเมียเหนือ หลักฐานอย่างแรกของสำเนียงนี้คืออิทธิพลต่อภาษาอราเมอิกจักรวรรดิในพุทธศตวรรษที่ 10 หลังจากการรุกรานซีเรียและเมโสโปเตเมียของ[[พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช]] ภาษาซีเรียคและภาษาอราเมอิกสำเนียงอื่นๆกลายเป็นภาษาเขียนเพื่อต่อต้านการทำให้เป็นกรีก ใน พ.ศ. 411 ราชอาณาจักรออสโรเอเนที่พบในเอเดสซาใช้ภาษาซีเรียคเป็นภาษาราชการ
===ภาษาซีเรียควรรณคดี===
ในพุทธศตวรรษที่ 8 โบสต์คริสต์ใน[[เอเดสซา]]เริ่มใช้ภาษาซีเรียคในทางศาสนา มีการแปล[[ไบเบิล]]เป็นภาษาซีเรียค (ܦܫܝܛܬܐ Pšîṭtâ) และมีการเขียนกวีนิพนธ์ด้วยภาษาซีเรียคมากมาย ตัวอย่างเช่น
Ṭûḇayhôn l'aylên daḏkên b-lebbhôn: d-hennôn neḥzôn l'allāhâ.(ลมหายใจบริสุทธิ์ในหัวใจ สำหรับพวกเขาที่จะได้เห็นพระเจ้า)
[[Image:6thBeatitude.png]]
ใน พ.ศ. 1032 ชาวคริสต์ที่พูดภาษาซีเรียคจำนวนมากอพยพจาก[[จักรวรรดิโรมัน]]ไปยัง[[เปอร์เซีย]]เพื่อหลีกหนีการกลั่นแกล้งและความเป็นปฏิปักษ์ของชาวคริสต์ที่พูด[[ภาษากรีก]] การเพิ่มขึ้นของนิกายในเปอร์เซียที่เรียกว่า[[เนสโตเรีย]]โดยชาวตะวันตก ทำให้ภาษาซีเรียคถูกแบ่งเป็นสองส่วนคือสำเนียงตะวันตกและตะวันออกโดยมีความแตกต่างกันทั้งด้านระบบเสียง ระบบการเขียนและคำศัพท์ด้วยบางส่วน
 
ภาษาซีเรียคยุคกลางตะวันตกเป็นภาษาราชการของ[[นิกายซีเรียคออร์ทอดอกซ์]] [[นิกายซีเรียนคาทอลิก]] [[นิกายมาโรไนต์]] [[นิกายมาลันการาซีเรียนออร์ทอดอกซ์]] [[นิกายมาร์ โทมา]] [[และนิกายซีโร-มาลันการาคาทอลิก]]
 
ภาษาซีเรียคยุคกลางตะวันออกเป็นภาษาทางศาสนาของ[[นิกายอัสซีเรียแห่งตะวันออก]] (รวม[[นิกายคัลเดียนซีเรียน]]ด้วย) [[นิกายคัลเดียนคาทอลิก]] [[และนิกายซีโร-มาลาบาร์]]
{{listen|filename=aboun.ogg|title=''{{unicode|Abûn d-ḇašmayâ}}''|description= บทสวด ''{{unicode|Abûn d-ḇašmayâ}}'', ร้องเป็นภาษาซีเรียค}}
ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นต้นมา ภาษาอาหรับเข้ามาเป็นภาษาสำหรับการติดต่อสื่อสารแทนภาษาซีเรียค การรุกรานของมองโกลในพุทธศตวรรษที่ 18 ทำให้ผู้พูดภาษานี้ลดลงอย่างรวดเร็ว มีการฟื้นฟูภาษาซีเรียคโดยออกหนังสือพิมพ์เป็นภาษาซีเรียควรรณคดี (ܟܬܒܢܝܐ Kthābānāyā) แปลหนังสือจากภาษาอาหรับและภาษาของชาวตะวันตกเป็นภาษาซีเรียค ส่วนภาษาซีเรียคในรัฐเกรละถูกแทนที่ด้วย[[ภาษามาลายาลัม]]
===ภาษาซีเรียคสมัยใหม่===
ภาษาซีเรียคคลาสสิกผสมกับสำเนียงตะวันออกอื่นๆของภาษาอราเมอิกที่ไม่มีการเขียนซึ่งใช้พูดตลอดภาคเหนือของเมโสโปเตเมีย ภาษาซีเรียคสมัยใหม่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของภาษาซีเรียคคลาสสิกและมีความหลากหลายจนทำให้การติดต่อระหว่างผู้พูดภาษาซีเรียคสมัยใหม่ต่างสำเนียงกันเข้าใจกันได้ยาก
 
ภาษาหลักของภาษาซีเรียคตะวันตกสมัยใหม่ได้แก่ภาษาตูโรโยซึ่งเป็นสำเนียงภูเขาของตูร์ อับดินในตุรกีตะวันออก ภาษาที่ใกล้เคียงแต่เป็นอีกภาษาหนึ่งต่างหากและคาดว่าเป็นภาษาตายไปแล้วคือภาษามลาโซ
 
ภาษาซีเรียคตะวันออกสมัยใหม่มีลักษณะใกล้เคียงกับสำเนียงยิวของภาษาอราเมอิกตะวันออก ภาษาในกลุ่มนี้แพร่กระจายจากบริเวณ[[ทะเลสาบอูร์เมีย]]ใน[[โมซุล]] มีความหลากหลายมาก ภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรียและภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดียเป็นภาษาหลักของชาวคริสต์ เนื่องจากความขัดแย้งในบริเวณนี้ในช่วง 200 ปีที่ผ่านมา ทำให้ผู้พูดภาษานี้มีการแพร่กระจายไป ทางใต้ไปซีเรียและอิรัก ทางเหนือไปจอร์เจีย อาร์เมเนียและอาเซอร์ไบจาน รวมทั้งบริเวณอื่นๆของโลก
 
== ไวยากรณ์ ==
เส้น 53 ⟶ 92:
===กริยา===
ส่วนใหญ่อยุ่ในรูปรากศัพท์พยัญชนะสามตัว คำกริยาแต่ละคำแสดงบุคคล เพศ (ยกเว้นบุรุษที่ 1 ) จำนวน กาลและสันธาน ภาษาซีเรียคมีสองกาลคือกาลสัมบูรณ์และกาลไม่สัมบูรณ์ ซึ่งเทียบเคียงได้กับอนาคตและอดีต กาลปัจจุบันใช้อนุภาคตามด้วยสรรพนามประธาน คำสันธานรวมอยู่กับคำกริยาเช่นเดียวกับภาษากลุ่มเซมิติกอื่นๆ ซึ่งจะทำให้ความหมายของกริยาเปลี่ยนไป สันธานตัวแรกคือ สถานะพื้นฐานหรือรูปแบบPə`al (แสดงความหมายจริงๆของคำ) สถานะเน้นหรือรูปแบบ Pa``el, แสดงความหมายที่เน้นหนัก สถานะอย่างกว้างหรือรุปแบบ Ap̄`el, แสดงความหมายที่เป็นเหตุผล สถานะเหล่านี้เป็นคู่ขนานกับสันธานถูกกระทำ Eṯpə`el, Eṯpa``al และ Ettap̄`al ตามลำดับนอกจากนี้มีสันธานไม่ปกติ เช่น the Šap̄`el and Eštap̄`al, เพื่อให้ความหมายที่กว้างขึ้น
 
== อ้างอิง ==
*Journal of Sacred Literature, New Series [Series 4] vol. 2 (1863) pp. 75-87, [http://www.tertullian.org/rpearse/oriental/jsl_syriac_intro.htm ''The Syriac Language and Literature'']
*Beyer, Klaus (1986). ''The Aramaic language: its distribution and subdivisions''. Göttingen: Vandenhoeck und Ruprecht. ISBN 3-525-53573-2.
*[[Sebastian Brock|Brock, Sebastian]] (2006). ''An Introduction to Syriac Studies''. Piscataway, NJ: Gorgias Press. ISBN 1-59333-349-8.
*[[Carl Brockelmann|Brockelmann, Carl]] (1895). ''Lexicon Syriacum''. Berlin: Reuther & Reichard; Edinburgh: T. & T. Clark.
*Healey, John F (1980). ''First studies in Syriac''. University of Birmingham/Sheffield Academic Press. ISBN 0-7044-0390-0.
*Maclean, Arthur John (2003). ''Grammar of the dialects of vernacular Syriac: as spoken by the Eastern Syrians of Kurdistan, north-west Persia, and the Plain of Mosul: with notices of the vernacular of the Jews of Azerbaijan and of Zakhu near Mosul''. Gorgias Press. ISBN 1-59333-018-9.
*[[Theodor Nöldeke|Nöldeke, Theodor]] and Julius Euting (1880) ''Kurzgefasste syrische Grammatik''. Leipzig: T.O. Weigel. [translated to English as ''Compendious Syriac Grammar'', by James A. Crichton. London: Williams & Norgate 1904. 2003 edition: ISBN 1-57506-050-7].
*Payne Smith, Jessie (Ed.) (1903). ''A compendious Syriac dictionary founded upon the Thesaurus Syriacus of [[Robert Payne Smith]]''. Oxford University Press, reprinted in 1998 by Eisenbraums. ISBN 1-57506-032-9.
*Robinson, Theodore Henry (1915). ''Paradigms and exercises in Syriac grammar''. Oxford University Press. ISBN 0-19-926129-6.
{{reflist}}
* [http://www.omniglot.com/writing/syriac.htm อักษรซีเรียค]
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{Commonscat|Syriac}}
*[http://www.bethmardutho.org/ Beth Mardutho — The Syriac Institute]
*[http://syrcom.cua.edu/hugoye/ Hugoye: Journal of Syriac Studies]
*[http://www.tyndale.cam.ac.uk/TABS/PayneSmith/ Payne Smith's Compendious Syriac Dictionary]
*[http://www.morephrem.com/catalog_Dayro.htm Bar Hebraeus Verlag (catalogue of Syriac books)]
*[http://www.gorgiaspress.com/bookshop/c-7-syriac.aspx/ Gorgias Press (catalogue of Syriac books)]
*[http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=syc Ethnologue report on Syriac]
*[http://www.assyrianlanguage.com/ Learn Assyrian Aramaic] — an introduction to the Syriac language in its eastern version
*[http://www.suryoyo-online.org/ Suryoyo Online — Online Journal of Syrian Orthodox Church, Syriac Studies and Aramaeans]
*[http://www.beith-morounoye.org/syriac/index1.html Introduction To The Syriac-Aramaic Language] — an introduction and resources from a popular Maronite website
*[http://www.premiumwanadoo.com/cuneiform.languages/syriac/ Syriac-English-French Online Dictionary] — poor general coverage
 
 
[[หมวดหมู่:ภาษาโบราณ|ซีเรียค]]