ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวแคระขาว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Seiki (คุย | ส่วนร่วม)
Seiki (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 40:
การบีบอัดของดาวแคระขาวจะเพิ่มจำนวนอิเล็กตรอนต่อปริมาตร การประยุกต์หลักการกีดกันของ Pauli หรือหลักความไม่แน่นอนเราจะสามารถเห็นว่ามันจะเพิ่มพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนทำให้เกิดความดัน Electron degeneracy pressure นี้คือสิ่งที่ช่วยดาวแคระขาวต้านกับ[[gravitational collapse]]ซึ่งขึ้นอยู่กับเฉพาะความหนาแน่นและไม่ขึ้นกับอุณหภูมิ Degenerate matter สามารถบีบอัดได้เมื่อเทียบกับสิ่งอื่น นั่นหมายความว่าความหนานแน่นของดาวแคระขาวที่มีมวลมากจะมากกว่าดาวแคระขาวที่มวลน้อยกว่ามาก ๆ รัศมีของดาวแคระขาวจะลดลงเมื่อมีมวลเพิ่มมากขึ้น
 
การมีอยู่ของขีดจำกัดมวลที่ไม่มีดาวแคระขาวใดสามารถเกินกว่านี้ได้คือผลสำคัญที่จะถูกค้ำยันโดย electron degeneracy pressure มวลทั้งหลายนี้ถูกเผยแพร่ในปี 1929 โดย Wilhelm Anderson และปี 1930 โดย Edmond C. Stoner ค่าขีดจำกัดใหม่ถูกเผยแพร่ในปี 1931 โดยสุพรหมันยัน จันทรเสกขารทรเสขารในงานวิจัยของเขา "มวลมากที่สุดของดาวแคระขาวในอุดมคติ" สำหรับดาวแคระขาวที่ไม่มีการหมุน ซึ่งเท่ากับค่าที่ได้จากการประมาณ 5.7/''μ''<sub>e</sub><sup>2</sup> เท่าของดวงอาทิตย์ เมื่อ ''μ''<sub>e</sub>คือน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยต่ออิเล็กตรอนของดาวคือคาร์บอน-12และออกซิเจน-16 ที่ประกอบอยู่มากในดาวแคระขาวคาร์บอนออกซิเจน ทั้งคู่มีเลขอะตอมเท่ากับครึ่งหนึ่งของน้ำหนักอะตอมเมื่อแทน ''μ''<sub>e</sub> เท่ากับ 2 ก็จะได้ค่า 1.4 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ใกล้กับค่าที่ประมาณในเวลาเริ่มต้นศตวรรษที่ 20 นี่เป็นเหตุผลที่ทำให้เชื่อว่าดาวประกอบด้วยธาตุที่หนักมากเป็นองค์ประกอบสำคัญ และในงานวิจัยของจันทรเสกขารทรเสขารตั้งค่าเฉลี่ยโมเลกุลต่ออิเล็กตรอน ''μ''<sub>e</sub> เท่ากับ 2.5 จะทำให้ได้ขีดจำกัดเท่ากับ 0.91 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ เหมือนของ William Alfred Fowler จันทรเสกขารได้รับรางวัลโนเบลในงานนี้และงานอื่นของเขาในปี 1983 ขีดจำกัดมวลปัจจุบันเรียกว่า[[Chandrasekhar limit]]
 
ถ้าดาวแคระขาวมีมวลเกินกว่าขีดจำกัดจันทรเสกขารทรเสขารและไม่มีปฏิกิริยานิวเคลียร์ ความดันที่เกิดขึ้นจากอิเล็กตรอนก็จะไม่สามารถรักษาสมดุลระหว่างแรงโน้มถ่วงได้นานและก็จะพังทลายลงมาเป็นวัตถุที่มีความหนาแน่นสูงกว่าเช่นดาวนิวตรอนหรือหลุมดำ อย่างไรก็ตามดาวแคระขาวคาร์บอนออกซิเจนจะเพิ่มมวลจากดาวคู่ของมันและดับปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นทำให้เกิด[[Type Ia Supernova]]และดาวแคระขาวจะถูกทำลายก่อนที่จะถึงขีดจำกัดมวล
 
ดาวแคระขาวมีกำลังส่องสว่างต่ำและปรากฏเป็นแถบใต้ [[HR Diagram|Hertzsprung-Russell diagram]] ซึ่งเป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างกำลังส่องสว่างกับสีหรืออุณหภูมิ มันไม่ไปปะปนกับวัตถุมวลน้อยอื่น ๆ ของแถบลำดับหลักเช่นดาวแคระแดงที่จุดไฮโดรเจนนิวเคลียร์ฟิวชันที่ใจกลางมีความดันจากอุณหภูมิหรือดาวแคระน้ำตาลที่มีอุณหภูมิต่ำ